Page 231 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 231
ส่วนที่ ๓ หน้า ๒๑๙
ศึกษาดูงานสภาพปัญหากลุ่มราษฎรบนพื้นที่สูง
ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงจังหวัดเชียงใหม่
และสมาคมศูนย์รวมการศึกษาและวัฒนธรรมของชาวไทยภูเขาในประเทศไทย
ณ จังหวัดเชียงใหม่
วันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๖๓
คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พการ กลุ่มชาติพนธุ์ และผู้มี
ั
ิ
ื้
ั
ความหลากหลายทางเพศ ได้เดินทางไปศึกษาดูงานศูนย์พฒนาราษฎรบนพนที่สูงจังหวัดเชียงใหม่
และสมาคมศูนย์รวมการศึกษาและวัฒนธรรมของชาวไทยภูเขาในประเทศไทย ณ จังหวัดเชียงใหม่
เพื่อรับฟังปัญหา ข้อเสนอแนะเพื่อการศึกษาและแก้ไขปัญหากลุ่มชาติพันธุ์
ั
ศูนย์พฒนาราษฎรบนพื้นที่สูง สังกัดกรมพัฒนาสังคม
ั
และสวัสดิการ กระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มี
จ านวนทั้งสิ้น ๑๖ แห่ง ครอบคลุมพื้นที่ ๒๐ จังหวัด ประกอบด้วย
จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดตาก จังหวัดล าพูน จังหวัด
ล าปาง จังหวัดพะเยา จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน
จังหวัดราชบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดก าแพงเพชร จังหวัด
ิ
เพชรบูรณ์ จังหวัดเลย จังหวัดพษณุโลก จังหวัดสุโขทัย จังหวัด
อุทัยธานี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
สภาพปัญหาและศักยภาพของชุมชน สรุปได้ ดังนี้
๑. ปัญหาด้านสังคม เช่น ความยากจน ยาเสพติด การเข้าถึงสวัสดิการ การขาดสถานะบุคคล
ั
ทางกฎหมาย สรุปได้ ดังนี้ (๑) ปัญหาความยากจนและการพฒนาคุณภาพชีวิต ความอยู่ดีมีสุข (Well - being)
(๒) มีพื้นที่เสี่ยงต่อปัญหายาเสพติดหรือแนวชายแดน สภาพแวดล้อมของชุมชนอยู่ในพื้นที่เสี่ยง ง่ายต่อการ
แพร่ระบาดยาเสพติด เด็กและเยาวชนในชุมชนมีพฤติกรรมถูกชักจูงหรือเลียนแบบการใช้สารเสพติด
(๓) การเข้าถึงสวัสดิการสังคม (บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ , สวัสดิการพื้นฐาน , บริการอื่น ๆ ของรัฐ) โดยเฉพาะ
ในพื้นที่ห่างไกลทุรกันดารและค่าใช้จ่ายในการเดินทางเป็นอุปสรรค
ในการเข้าถึงสวัสดิการสังคม เช่น การลงทะเบียนบัตรสวัสดิการ
แห่งรัฐ ท าให้ผู้ประสบปัญหาไม่สามารถเดินทางมาลงทะเบียน
ื้
บัตรสวัสดิการแห่งรัฐได้ และไม่เข้าถึงบริการขั้นพนฐาน (ประชาชน
ื้
เสนอให้ส่งเจ้าหน้าที่ไปด าเนินการในพนที่ห่างไกลทุรกันดาร)
(๔) มาตรการทวงคืนผืนป่าท าให้ผู้ที่ถูกทวงคืนพื้นที่ท ากินมีที่ท ากิน
น้อยลงหรือบางครอบครัวไม่มีที่ดินเหลือให้ท ากิน (๕) ประชาชน
และแกนน าชุมชนส่วนใหญ่ไม่มีความรู้เกี่ยวกับสิทธิบริการขั้นพนฐานของรัฐ (๖) ทัศนคติคนพนราบ
ื้
ื้
บางส่วนยังไม่เข้าใจหรือไม่ยอมรับวิถีชีวิตกลุ่มชาติพนธุ์ หรือขาดความเข้าใจเรื่องการอยู่ร่วมกันแบบ
ั
“พหุวัฒนธรรม” (การเคารพความแตกต่างทางวัฒนธรรม) (๗) ประชาชนบนพนที่สูงขาดโอกาสทางการศึกษา
ื้
ื้
การเรียนรู้ที่เหมาะสมและมีคุณภาพ เช่น การมีสถาบันการศึกษาหรือแหล่งฝึกอาชีพที่ได้มาตรฐานในพนที่
หมู่บ้านห่างไกลทุรกันดาร (๘) ไม่มีกิจกรรมเสริมพลังทางสังคมที่เหมาะสมกับกลุ่มสตรี เยาวชน และผู้สูงอายุ