Page 233 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 233

ส่วนที่ ๓                                                                           หน้า ๒๒๑



                           ๕. ปัญหาด้านการบริหารจัดการตนเองของชุมชน สรุปได้ ดังนี้ (๑) ประชาชนและองค์กรชุมชน

                                                ั
                                                                                      ั
               ประชาชนยังคงคิดว่าตัวเองเป็นผู้ถูกพฒนามากกว่าการเป็นผู้ก าหนดทิศทางการพฒนาของตนเองและชุมชน
               ประชาชนหรือชุมชนบางส่วนยังไม่ตระหนักรู้ประโยชน์ของการรวมกลุ่มและการขับเคลื่อนขององค์กรชุมชน
               ที่น าไปสู่การพึ่งพาตนเองได้และการพัฒนาอย่างยั่งยืน และชุมชนบนพื้นที่สูงส่วนใหญ่ไม่มีแผนและทิศทาง
                                                        ั
                                                   การพฒนาของตนเองอย่างครอบคลุมทุกมิติ (๒) องค์กรปกครอง
                                                   ส่วนท้องถิ่น มีทัศนคติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่ง

                                                   มองชุมชนบนพนที่สูงว่าเป็นผู้ถูกพฒนามากกว่าการเป็นผู้มีส่วนร่วม
                                                                ื้
                                                                                ั
                                                           ั
                                                   ในการพฒนา นอกจากนี้นโยบายของผู้บริหารท้องถิ่นบางแห่ง
                                                   ยังไม่ให้ความส าคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา
                                                   อย่างยั่งยืน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนใหญ่ยังไม่สามารถ
                                                                          ั
                                                   ด าเนินการจัดเก็บและพฒนาระบบฐานข้อมูล โดยจะต้องเป็น
               ผู้จัดเก็บและพัฒนาฐานข้อมูลด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมและการบริหารจัดการตนเองของ
               ชุมชน และ “น าผลการวิเคราะห์ชุมชน” ไปใช้ประกอบ “กระบวนการจัดท าแผนชุมชน”

                           ๖. ปัญหาที่มีความละเอียดอ่อนหรือมีความซับซ้อนหลายประเด็น สรุปได้ ดังนี้ (๑) บางกลุ่ม
               ชาติพันธุ์มีประเพณีลักษณะพิเศษ เช่น การออกเรือนคือการตัดขาดจากบ้านเดิม เมื่อเกิดปัญหาการหย่าร้าง
                                                                           ่
               เมื่อฝ่ายหญิงออกเรือนไปแล้วจะไม่สามารถกลับมาอยู่บ้านเดิมกับพอแม่หรือครอบครัวเดิมได้ เพราะตาม
               ประเพณีถือว่าตัดขาดจากผีเรือนไปแล้ว ท าให้ฝ่ายหญิงมีความยากล าบากเป็นอย่างมากในการด ารงชีวิต
               (๒) เด็กยุคสมัยนี้ เนื่องจากโลกก้าวหน้าไปเร็วและไกลมากเด็กเหล่านี้สามารถเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ได้ด้วย

               ตัวเองบนโลกโซเชียล แต่กลับถูกปล่อยไว้กับผู้สูงอายุกลุ่มชาติพนธุ์ซึ่งไม่สามารถตามทันเทคโนโลยีสมัยใหม่
                                                                       ั
               ท าให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา ทั้งการมั่วสุม มีการใช้ความรุนแรงมากขึ้น การท้องก่อนวัยอันควร และการ

               ไม่เคารพปู่ ย่า ตา ยาย ท าให้เกิดปัญหาตั้งแต่ในระดับครอบครัว (๓) ชนเผ่าพนเมืองมีมากกว่า ๑๐ กลุ่ม
                                                                                     ื้
               จะต้องมีการขยายกลุ่มเป้าหมายออกไปให้ครอบคลุมมากขึ้น เช่น ชาวเล ซึ่งก็ถือว่าเป็นชนเผ่าพนเมือง
                                                                                                      ื้
               (๔) ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณจะเป็นไปตามหน้าที่และอ านาจของหน่วยงานต่าง ๆ การที่หน่วยงาน

                                                                           ื้
               ใดหน่วยงานหนึ่งจะช่วยเหลือประชาชนกลุ่มบอบบางหรือชุมเผ่าพนเมืองจะไม่สามารถท าได้ครอบคลุม
               ทุกเรื่อง ต้องใช้หลายหน่วยงานเข้ามาท างาน ท าให้เกิดความยุ่งยากซับซ้อนของประชาชน ในการมาติดต่อ

               เป็นภาระต่อประชาชนเป็นอย่างมากเพราะแต่ละพนที่แต่ละหน่วยงานมีความห่างไกลกัน ซึ่งเดิมหน่วยงานเดียว
                                                          ื้
               สามารถด าเนินการให้กับชนเผ่าพื้นเมืองได้ทุกเรื่อง และ (๕) กลุ่มชาติพันธุ์สามารถสร้างสีสันให้กับการท่องเที่ยว
               จ านวนมาก สามารถสร้างงานบริการให้กับพนที่และประเทศชาติ ควรมีกระบวนการที่เกี่ยวข้องให้ประชาชน
                                                      ื้
               เข้าไปมีส่วนร่วมทั้งในด้านการดูแลรักษาพื้นที่และการน ารายได้มาดูแลพื้นที่เป็นพิเศษด้วย
                                                                      ั
                                                     ื้
                              ิ
                           พพธภัณฑ์เรียนรู้ราษฎรบนพนที่สูง สังกัดกรมพฒนา
                             ิ
                                               ั
               สังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของ
               มนุษย์ เป็นพพธภัณฑซึ่งได้รวบรวมวัตถุศิลป์สิ่งของเครื่องใช้และ
                           ิ
                             ิ
                                   ์
               ภาพถ่ายต่าง ๆ ที่แสดงให้เห็นอัตลักษณ์ วิถีชีวิตสังคมวัฒนธรรมชน
               เผ่า ๑๐ เผ่า คือ กะเหรี่ยง ม้ง เมี่ยน ลีซู ลาหู่ อาข่า มลาบรี ถิ่น ขมุ
               ลัวะ ตลอดถึงจารีตประเพณี และความเชื่อ ซึ่งมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิต
                                                                       ื้
               ของชนเผ่าจนหล่อหลอมเป็นอัตลักษณ์เฉพาะตนของราษฎรบนพนที่
                                   ิ
                                         ์
                                                         ื้
               สูง บทบาทภารกิจ พพธภัณฑเรียนรู้ราษฎรบนพนที่สูง สรุปได้ ดังนี้
                                  ิ
   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238