Page 236 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 236
หน้า ๒๒๔ ส่วนที่ ๓
การศึกษาดูงานด้านกลุ่มชาติพันธุ์มันนิและอูรักลาโว้ย
ระหว่างวันอาทิตย์ที่ ๒๓ – วันจันทร์ที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๓
ณ จังหวัดพัทลุง และจังหวัดกระบี่
วันอาทิตย์ที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๓
ศึกษาดูงานชาวมานิกลุ่มป่าบอน ณ หน่วยพิทักษ์ป่าทุ่งนารี อ าเภอปาบอน จังหวัดพัทลุง
่
ชาวมานิเป็นชนเผ่าพื้นเมืองที่อาศัยอยู่บริเวณเทือกเขาบรรทัด และเทือกเขาสันกาลาคีรีมาหลาย
ิ่
ั
พนปี กลุ่มที่คณะกรรมาธิการไปดูงานนี้เป็นกลุ่มป่าบอนมีชาวมานิ ๒๓ คน ๖ ครอบครัว ซึ่งเพงมาตั้ง
บ้านเรือนชั่วคราวที่บริเวณป่านี้ ๘ เดือน ซึ่งทุกคนมีบัตรประชาชนทั้งหมดแล้ว
ความต้องการชาวมานิในพื้นที่
๑. ต้องการด ารงชีวิตตามวิถีชีวิตดั้งเดิม โดยสามารถ
ั
ย้ายที่พกตามการหมุนเวียนของแหล่งอาหาร คือ การหามัน
และของป่า โดยไม่ถูกรบกวนจากผู้ที่ไปเที่ยวหรือจากเจ้าหน้าที่ป่าไม้
เนื่องจากชาวมานิไม่ได้มาท าลายป่าแต่อย่างใด
๒. ต้องการให้เด็กชาวมานิได้รับการศึกษามากขึ้น
วันจันทร์ที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๓
่
ศึกษาดูงานชาวอูรักลาโว้ย ณ ชุมชนบ้านโต๊ะบาหลิว และประชุมร่วมกับหนวยงานที่เกี่ยวข้อง
กับการดูแลกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่ ณ ที่ว่าการอ าเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่
อูรักลาโว้ย เป็นชนเผ่าพนเมืองที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในราชอาณาจักรไทยมายาวนาน พวกเขาเข้ามาตั้ง
ื้
ถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่บริเวณหมู่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และกระจายตัวออกไปตามหมู่เกาะต่าง ๆ ในแถบ
ทะเลอันดามันที่เป็นอาณาเขตของประเทศไทย
จากร่องรอยหลักฐานที่ปรากฏ ชาวอูรักลาโว้ยได้ล่องเรือมาพบเกาะที่มีหาดทรายขาวเป็นแนวยาว
จากทิศเหนือลงสู่ทิศใต้เหมาะเป็นที่หลบมรสุม พวกเขาเรียก
เกาะแห่งนี้ว่า “ปาตัยซาตั๊ก” และบุกเบิกเกาะแห่งนี้ตั้งรกราก
แปรรูปผลผลิตจากทะเลตามแถบชายหาดของเกาะ และเคลื่อนย้าย
ไปมาตามแหล่งประมงต่าง ๆ แล้วกลับมา ณ เกาะแห่งนี้ในช่วง
ิ
เวลาเดิม ๆ จนมีพนที่พธีกรรมตามประเพณีบนเกาะแห่งนี้ที่เรียกว่า
ื้
“ศาลโต๊ะบาหลิว” ซึ่งเป็นศาลบรรพบุรุษของชาวอูรักลาโว้ย
ชาวอูรักลาโว้ยมีวิถีชีวิตออกเรือประมงไปตามช่วงเวลามรสุม
ประเด็นปัญหาและความต้องการของชาวอุรักลาโว้ยในพื้นที่
้
๑. ปัญหาระบบสาธารณูปโภค ได้แก่ ระบบไฟฟา ปัจจุบันชาวบ้านที่โต๊ะบาหลิวยังคงใช้ไฟฟา
้
้
้
จากหม้อแปลงไฟฟาชั่วคราว ท าให้ต้องจ่ายค่าไฟฟาแพงกว่าปกติถึง ๒ – ๓ เท่า ซึ่งที่ผ่านมาได้มีการเรียกร้อง
และขับเคลื่อนในการติดตั้งมิเตอร์ไฟฟาแบบถาวรให้แก่ชาวบ้านในชุมชนแล้ว แต่จนปัจจุบันยังไม่สามารถ
้
ื้
้
้
เดินสายไฟฟาและติดตั้งมิเตอร์ไฟฟาแบบถาวรได้ เนื่องจากยังมีข้อติดขัดในการขออนุญาตเข้าพนที่ติดตั้ง
ซึ่งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นหน่วยงานเจ้าของพื้นที่ที่ชุมชนบ้านนี้ตั้งอยู่