Page 235 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 235

ส่วนที่ ๓                                                                           หน้า ๒๒๓



                                       แนวทางการจัดการดูแล ฝึกอบรม และฟื้นฟูเด็ก

                                 ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน (ชาย) บ้านกาญจนาภิเษก
                                             อ าเภอพุทธมณฑล  จังหวัดนครปฐม

                                             วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๓


                           คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลาย
               ทางเพศ สภาผู้แทนราษฎร ได้เดินทางไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับการด าเนินงานและการจัดการฝึกอบรมเด็ก

               และเยาวชน ณ ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนบ้านกาญจนาภิเษก อ าเภอพทธมณฑล จังหวัดนครปฐม
                                                                                     ุ
               โดยมีวัตถุประสงค์เพอรับทราบปัญหาอุปสรรคตลอดจนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการจัดการ
                                  ื่
               ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน และน าความรู้มาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนางานด้านสังคม ของประเทศต่อไป
                           คณะกรรมาธิการ ได้เข้าเยี่ยมชมศูนย์ฝึกและอบรม
               เด็กและเยาวชน (ชาย) บ้านกาญจนาภิเษก จังหวัดนครปฐม เพอ
                                                                        ื่
               สร้างเสริมความเข้าใจเรื่องการสร้างสังคมที่ไม่ทิ้งใครไว้เบื้องหลัง
               ตามหลักนิติธรรม การฟื้นฟู และเสริมพลังด้านบวกเพื่อแก้ไขปัญหา

               อาชญากรรมในวัยเยาว์ เพราะถือว่าเยาวชนที่กระท าผิดทางอาญา
               เป็นกลุ่มเปราะบางที่ควรได้รับโอกาสอีกครั้งจากการเรียนรู้ชีวิตใหม่
               ในสถานที่อันเหมาะสมหลังจากก้าวย่างที่ผิดพลาด การเยี่ยมชม

               ศูนย์ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน (ชาย) บ้านกาญจนภิเษก ครั้งนี้ เป็นการ
               สร้างความเข้าใจที่อ้างอิงหลักสิทธิมนุษยชน เกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการเยียวยาเด็กและเยาวชนที่เคยเลือก

               เดินทางผิด โดยแทนที่จะปฏิบัติต่อกลุ่มคนเหล่านั้นเสมือนอาชญากรกลับ ใช้แนวทางการเยียวยา ดูแล
               แก้ไข ฟื้นฟเยาวชนเหล่านี้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม เปิดพนด้านสว่าง การเสริมพลังด้านบวก เพื่อให้พวกเขา
                         ู
                                                                ื้
                                                                                       ้
                                                                         ื่
               มีก าลังต่อสู้กับด้านมืดจากอดีตและเลือกที่จะกลับตัวเป็นคนดี เพอว่าเมื่อถึงวันพนโทษจะสามารถกลับไป
               อยู่ร่วมกับครอบครอบครัวและสังคมได้อย่างปกติสุข
                           นางทิชา ณ นคร ผู้อ านวยการศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน (ชาย) บ้านกาญจนาภิเษก

               จังหวัดนครปฐม ให้ข้อมูลต่อคณะกรรมาธิการว่า บ้านกาญจนาภิเษกไม่ใช่ที่คุมขังอย่างที่ใครหลายคนเข้าใจ
                                                ดังนั้น เด็กเหล่านี้จึงไม่ควรถูกปฏิบัติประหนึ่งนักโทษ ถึงแม้เขาจะเป็น
                                                ผู้กระท าผิด แต่จ าเป็นต้องปกป้องสิทธิขั้นพื้นฐานให้แก่แด็ก ซึ่งรวมไปถึง

                                                สิทธิมนุษยชน สิ่งส าคัญที่สุดคือ การพยายามเปลี่ยนมุมมองของสังคม
                                                จากที่เห็นว่าพวกเขาเป็นผู้กระท า ในทางกลับกัน เยาวชนเหล่านี้คือ

                                                เหยื่อของสังคมเช่นเดียวกัน หน้าที่ของบ้านกาญจนภิเษก คือการแสวงหา
                                                ความเป็นธรรมให้กับพวกเขาให้มากที่สุดเท่าที่จะท าได้ พร้อมทั้งดูแล
                                                แก้ไขฟื้นฟด้วยความรัก ให้การศึกษาอย่างที่ควรจะได้รับเหมือนเด็กทั่วไป
                                                         ู
                           คณะกรรมาธิการ เห็นว่าแนวทางการเยียวยาภายใต้ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน (ชาย)
                                                                                                           ั
               บ้านกาญจนาภิเษก นับเป็นตัวอย่างของการจัดการกับปัญหาอย่างยั่งยืนและสอดคล้องกับแนวทางของหลก
               นิติธรรมเป็นอย่างยิ่ง ที่สมควรเป็นต้นแบบในการจัดการปัญหาการกระท าความผิดของเด็กและเยาวชน
   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240