Page 232 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 232

หน้า ๒๒๐                                                                             ส่วนที่ ๓




               เช่น การรวมกลุ่มทางสังคม เพราะพฤติกรรมการด ารงชีพเปลี่ยนไปต้องเข้าสู่ระบบการทางานที่ต้องแข่งขัน
                                 ั
               รวมถึงกิจกรรมการพฒนามักตรงกับช่วงเวลาการท างานของชุมชนท าให้ประชาชนไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรม
               ได้อย่างต่อเนื่อง (๙) การขาดสถานะบุคคลทางกฎหมาย เช่น นาย ก อาศัยอยู่ที่ อ าเภอแม่แตง จังหวัด

                                                                ี่
                            ี่
               เชียงใหม่ มีพน้องที่เกิดจากบิดามารดาเดียวกัน แต่พน้องได้รับสัญชาติไทยทั้งหมด แต่นาย ก ไม่ได้รับ
                                                  สัญชาติไทยเนื่องจาก ณ วันที่ส ารวจ นาย ก ติดคุก เลยไม่ได้รับ
                                                  การส ารวจจึงไม่ได้รับสถานะสัญชาติไทย เป็นต้น (๑๐) การใช้

                                                  เทคโนโลยีในทางที่ผิดเป็นช่องทางการจ าหน่ายยาเสพติด ค้ามนุษย์
                                                  เช่น การขายยาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน ใน Facebook หรือ

                                                  กลุ่มไลน์ เป็นต้น และ (๑๑) ขาดการให้คุณค่าและพัฒนาศักยภาพ
                                                  ผู้น าทางสังคมและอาสาสมัครอย่างต่อเนื่อง
                           ๒. ปัญหาด้านเศรษฐกิจ เช่น รายได้ไม่พอต่อการด ารงชีพ การประกอบอาชีพที่ไม่ยั่งยืน

               การเข้าไม่ถึงแหล่งทุนภาครัฐ สรุปได้ ดังนี้ (๑) มีรายได้ไม่เพยงพอต่อการด ารงชีพ (เกณฑผู้มีรายได้น้อย
                                                                                                ์
                                                                     ี
               ตามบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ) (๒) การเข้าถึงแหล่งทุนของรัฐน้อย (ประชาชนพงพาแหล่งทุนนอกระบบ)
                                                                                      ึ่
               (๓) ค่านิยมเรื่องวัตถุนิยมหรือทุนนิยม เกิดความต้องการเปลี่ยนแปลงฐานะความเป็นอยู่หรือการแข่งขัน
               เช่น การบริโภคสินค้าฟุ่มเฟือย ภาระค่าใช้จ่ายการส่งบุตรเข้าเรียนในเมือง การปลูกพืชเชิงเดี่ยวใช้พื้นที่มาก
               และต้นทุนสารเคมีสูงแต่ราคาผลิตต่ าเกิดหนี้สินทั้งในระบบและหนี้สินนอกระบบหลายแหล่งหนี้ เป็นต้น

               (๔) การประกอบอาชีพที่ไม่ยั่งยืนหรือไม่มั่นคง เช่น การปลูกพชเชิงเดี่ยว รวมถึงเยาวชนจบปริญญาตรี
                                                                        ื
               แต่ไม่มีงานท าหรือมีงานแต่ขาดความมั่นคง ฯลฯ และ (๕) บางคนยังขาดความรู้ในการประกอบอาชีพทางเลือก

               ที่เหมาะสมกับต้นทุนหรือทุนทางสังคมของครอบครัว ฯลฯ
                           ๓. ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การจัดการขยะที่ถูกต้องหรือมุมมองที่มีต่อพื้นที่ท ากินและที่อยู่

               อาศัย ฯลฯ สรุปได้ ดังนี้ (๑) มุมมองที่มีต่อพื้นที่ท ากินและที่อยู่อาศัยบนพื้นที่สูง เช่น มุมมองของประชาชน
               หรือชาวบ้านอยู่อาศัยและท ากินมาก่อนประกาศพนที่หวงห้ามของ
                                                            ื้
               ทางราชการ และมุมมองตามกฎหมายเจ้าหน้าที่ต้องด าเนินการตาม

                             ิ
               กฎหมายกรณีพสูจน์ได้ว่ามีการบุกรุกโดยผิดกฎหมาย (๒) ชาวบ้าน
                                                                 ื่
               บางส่วนปลูกพชเชิงเดี่ยว ใช้สารเคมีทางการเกษตรเพอมุ่งรายได้
                             ื
               เป็นหลัก โดยขาดจิตส านึกและหรือความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากร
               ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ (๓) บางชุมชนขาดจิตส านึกและความรู้
               ด้านการจัดการขยะที่ถูกต้องและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

                           ๔. ปัญหาด้านวัฒนธรรม เช่น เด็กและเยาวชนขาดความภาคภูมิใจในอัตลักษณ์ทางชาติพนธุ์
                                                                                                          ั
               หรือการรับรู้และลอกเลียนแบบผ่านสื่อ ฯลฯ สรุปได้ ดังนี้ (๑) เด็กและเยาวชนส่วนใหญ่ขาดความภาคภูมิใจ

               ในคุณค่าและอัตลักษณ์ทางชาติพนธุ์ (๒) การน าวัฒนธรรมจากชุมชนเมืองไปใช้ในหมู่บ้านโดยขาดการ
                                              ั
               กลั่นกรอง (๓) การรับรู้และลอกเลียนแบบผ่านสื่อออนไลน์ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านความรุนแรง
               ทางครอบครัว และทางเพศ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีพฤติกรรมทางเพศในการเสพสื่อยั่วยุทางเพศน ามาสู่

               พฤติกรรมและการเลียนแบบความรุนแรงทางเพศการท้องก่อนวัยอันควร และการค้ามนุษย์ ฯลฯ และ
               (๔) บทบาทของผู้น าทางวัฒนธรรม ผู้น าทางจิตวิญญาณ ถูกให้ความส าคัญลดลงแต่เพมความส าคัญกับ
                                                                                             ิ่
               ผู้น าทางการ
   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237