Page 16 - บทที่9-60
P. 16

1)  การตรวจทางชีวเคมี ได้แก่ การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด การตรวจระดับน้ าตาลและ

                          ไขมันในเลือด, การตรวจการอักเสบของหลอดเลือด


                       2)  การตรวจทางรังสีวินิจฉัย  ได้แก่ เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า อัลตราซาวน์ตรวจ

                          ความผิดปกติของหลอดเลือดแดงที่คอเพื่อประเมินปัจจัยเสี่ยง





































                       3)  การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ เพื่อประเมินการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติ เป็นต้น

                       การรักษาขึ้นกับสาเหตุของการเกิดโรคว่าเป็นชนิดหลอดเลือดสมองตีบตันหรือหลอดเลือดสมอง

               แตก ซึ่งหากเป็นชนิดตีบตันจะมีเป้าหมายของการรักษาเพื่อท าให้การไหลเวียนของเลือดกลับมาท างานให้

               ได้อย่างปกติ เช่น การให้ยาละลายลิ่มเลือด การผ่าตัดเปิดหลอดเลือด ส่วนหากเป็นชนิดแตกจะมีเป้าหมาย

               การรักษาเพื่อควบคุมปริมาณการออกของเลือด โดยการเฝ้าระวังหรืออาจผ่าตัดในรายที่มีพบว่าก้อนเลือด

               มีผลต่อความเสียหายต่อสมองและอาจเกิดอันตรายต่อชีวิตขึ้นกับความเสี่ยงของผู้ป่วยเป็นรายไป






                                                                                  สราวุธ สุขสุผิว_ภาคการศึกษาที่ 3/2560
   11   12   13   14   15   16   17   18