Page 14 - บทที่9-60
P. 14

  เพศ ส่วนใหญ่พบว่าเพศชายมีโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคสูงกว่าเพศหญิง


                                มีประวัติการแข็งตัวของเลือดที่ผิดปกติ ท าให้เลือดมีการแข็งตัวง่ายกว่าบุคคลทั่วไป


                                มีประวัติโรคหลอดเลือดสมองในครอบครัว โดยพบว่าหากมีญาติพี่น้องมีประวัติของ

                                 โรคหลอดเลือดสมองจะพบว่ามีความเสี่ยงมากกว่าผู้ที่ไม่มีประวัติดังกล่าว


                       2)  ปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ ประกอบด้วย


                                โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)


                                โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus)


                                โรคไขมันโลหิตสูง (Hyperlipidemia)


                                โรคอ้วน (Obesity)


                                การสูบบุหรี่ (Smoking)


                                โรคหัวใจ เช่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ หลอดเลือดหัวใจตีบ ลิ้นหัวใจผิดปกติ เป็นต้น


                                การใช้ยาคุมก าเนิด


                                การอักเสบของหลอดเลือด


                                การใช้สารเสพติดบางประเภท


                                การติดเชื้อบางชนิด เช่น โรคเอดส์ โรคซิฟิลิส


                                การขาดการออกก าลังกายที่สม่ าเสมอ


               อาการและอาการแสดงโรคหลอดเลือดสมอง


                       ไม่ว่าโรคหลอดเลือดสมองจะเกิดจากสาเหตุการตีบตันหรือการแตกของหลอดเลือดก็ตามจะส่งผล
               ให้สมองไม่สามารถท างานได้ตามปกติ ท าให้มีอาการแสดงทางระบบประสาทเกิดขึ้นซึ่งอาการจะแสดงออก

               มากหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของพยาธิสภาพที่เกิดขึ้นและต าแหน่งของสมองที่ได้รับ

               ผลกระทบ







                                                                                  สราวุธ สุขสุผิว_ภาคการศึกษาที่ 3/2560
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18