Page 87 - คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ รหัส 2204-2004
P. 87

7.7 อินเวอร์สการคูณของเมตริกซ์

                     อินเวอร์สการคูณของเมตริกซ์

                     คงจ ากันได้นะ อินเวอร์การคูณของจ านวนจริง a คือ จ านวนจริงที่น ามาคูณกับจ านวนจริง a

                แล้วได้ผลเท่ากับเอกลักษณ์ 1 และเราใช้สัญลักษณ์      แทนอินเวอร์การคูณของจ านวนจริง a


                นั่นคือ
                     ในท านองเดียวกัน อินเวอร์การคูณของเมทริกซ์ A ก็คือ เมตริกซ์ ซึ่งเมื่อน ามาคูณกับเมตริกซ์


                A แล้วจะได้ผลลัพธ์เท่ากับเมทริกซ์เอกลักษณ์ I และเราใช้สัญลักษณ์       แทน อินเวอร์การคูณ

                ของเมตริกซ์ นั่นคือ

                    แต่งเนื่องจาก    กับ   นั้นต้องมีสมบัติการสลับที่ส าหรับการคูณ ซึ่งการที่จะเกิดลักษณะนี้

                ได้     และ   ต้องเป็นเมตริกซ์ที่มีมิติเท่ากัน

                    สรุป ถ้านักเรียนต้องการแสดงว่า เมทริกซ์ B เป็นอินเวอร์ของเมตริกซ์ A นักเรียนต้องแสดง

                ให้ได้ว่า AB = BA = I



                 ตัวอย่าง  จงแสดงว่า  อินเวอร์การคูณของเมตริกซ์             คือเมตริกซ์



                วิธีร า   หา  AB =                    =                    =         = I



                                BA =                 =                     =          = I

                           แสดงว่า  AB = BA = I  ดังนั้น


               7.8 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นด้วยเมตริกซ์

                      การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยวิธีนี้จะใช้ได้สะดวกที่สุดเมื่อระบบสมการเชิงเส้นมี 22 ตัว

                แปรแต่เมื่อระบบสมการเชิงเส้นของเรามีตัวแปรมากกว่า 33ตัวแปร ในบางครั้งการแก้ระบบ

                สมการโดยวิธีนี้ค่อนข้างจะยุ่งยากจึงไม่เป็นที่นิยม






















                                                                                                                82
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92