Page 19 - Annal Report Ed-CMU 2019
P. 19

16 16




























                                 รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี วรกิจพูนผล อาจารย์กาญจณีย์ สุมัชยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เนตรทอง นามพรม
                                        รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาศ โชติบาง กลุ่มวิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์







       ละอ่อนในอ้อมกอดที่ไม่แหว่งของ




                                   พ่ออุ้ย-แม่อุ้ย:ครอบครัวแหว่งกลาง




                                                                    “อุ้ยอยู่บ้านเลี้ยงหลาน” เป็นคำาพูดที่สะท้อนถึงบทบาทหน้าที่
                                                            และลักษณะของครอบครัวในบริบทประเทศไทยในชนบทที่มีมายาวนาน
                                                            จากรุ่นสู่รุ่น กล่าวคือขณะที่พ่อแม่ของเด็กต้องไปทำางาน ปู่ย่าตายายหรือ
                                                            ผู้สูงอายุต้องเฝ้าบ้านและเลี้ยงดูบุตรหลานที่ยังไม่ไปโรงเรียน  คนไทย
                                                            เติบโตมากับบริบทการเลี้ยงดูโดยผู้สูงอายุจนคุ้นชิน  จนอาจไม่รู้ว่าเป็น

                                                            การทึกทักไปเองหรือคิดว่า เป็นหน้าที่หลักที่ผู้สูงอายุทุกคนควรจะต้อง
                                                            ทำาและทำาได้ดีอยู่แล้ว แต่ทว่าในมุมมองหรือความรู้สึกของเด็กหรือละ
                                                            อ่อนล่ะ ไม่มีใครถามเด็กว่าอยากที่จะได้รับการดูแลจากพ่อแม่หรือปู่ย่า
                                                            ตายาย ถ้ามีทางเลือกที่ทุกคนสามารถเลือกได้ตามความต้องการก็น่า
                                                            จะดีแต่ในสถานการณ์สังคมอุตสาหกรรมในปัจจุบันที่วัยแรงงานต้อง
                                                            โยกย้ายถิ่นเพื่อหาเลี้ยงชีพหรือเพื่อความก้าวหน้าของตนเองและครอบครัว
                                                            จึงทำาให้ทางเลือกนั้นลดลง  การฝากผู้สูงอายุเลี้ยงดูเฉพาะช่วงนั้นจึง
                                                            ยิ่งยืดยาวออกไป  ครอบครัวที่ผู้สูงอายุเป็นผู้ดูแลหลักของเด็ก  ในขณะ
                                                            ที่พ่อแม่ของเด็กไม่ได้อยู่ดูแลจึงถูกเรียกว่า  ครอบครัว  “แหว่งกลาง”

                                                            หรือครอบครัวข้ามรุ่นนั่นเอง
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24