Page 253 - 57 คู่มือปฏิบัติงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม
P. 253

๒๕๒


                         ๓. ความสามารถ (Competencies)
                             ความสามารถ (Competencies)  หมายถึง ความรู้ ความสามารถ พฤติกรรม ทักษะแรงจูงใจ
                  ที่มีความสัมพันธ์และส่งผลกระทบต่อความส าเร็จของเป้าหมายในต าแหน่งนั้นๆ แนวคิดการจัดท า

                  Competencies
                                ๑) การวิจัย (Research-Based Approach) การจัดท า competencies โดยการวิจัย
                                   พฤติกรรมของผู้ ประสบความส าเร็จมาแล้วเพื่อค้นหาพฤติกรรมอะไรท าให้เขาประสบ

                                   ความส าเร็จ โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก
                                ๒) กลยุทธ์ขององค์กร (Strategy-Based Approach) การจัดท า competencies
                                   โดยพิจารณาจากกลยุทธ์ขององค์ การในอนาคตว่า competencies  ใดส าคัญ และ
                                   จ าเป็น จากการเก็บข้อมูลโดย สัมภาษณ์ผู้ บริหาร หรือน าข้อมูลพฤติกรรมในอดีต

                                   มาท านายอนาคต

                                ๓) คุณค่าขององค์กร (Value-Based  Approach)  การก าหนด competencies

                                   โดยพิจารณาจากคุณค่าขององค์กรผู้บริหารระดับสูงอาจเป็นผู้ก าหนดเพียงผู้เดียว
                                   วิสัยทัศน์ (vision)  ของผู้บริหารน าไปสู่กรอบของภารกิจ (mission)  และกลยุทธ์ของ
                                   องค์กรต่อไป


                         ๔. การประเมินผลแบบ ๓๖๐ องศา (๓๖๐ Degree-Feedback)
                             การประเมินผลแบบ ๓๖๐ องศา (๓๖๐-Degree  feedback)  หมายถึง วิธีการประเมินผล

                  ความสามารถ (competencies)  ผู้ปฏิบัติงาน โดยอาศัยมุมมองของบุคคลรอบข้างที่เกี่ยวข้อง เช่น หัวหน้างาน
                  เพื่อนร่วมงาน ผู้ใต้บังคับบัญชาตนเอง


                         ๕. การประเมินผลแบบ ๕๔๐ องศา (๕๔๐ Degree- Feedback)
                             การประเมินผลแบบ ๕๔๐ องศา (๕๔๐-Degree  feedback)  หมายถึง การประเมินผล
                  การปฏิบัติงานของพนักงานที่มีมุมมองของผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ตนเอง
                  ผู้ใต้บังคับบัญชานักเรียน ผู้ปกครอง หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การประเมินแบบนี้จะได้ข้อมูล
                  ที่ค่อนข้างครอบคลุมเกือบทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงาน โดยเฉพาะมุมมองของนักเรียน ผู้ปกครอง

                  หรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานน ามาพัฒนาหรือปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรม
                  หรือการปฏิบัติงานที่ดีขึ้น  อย่างไรก็ตาม การที่ผู้บริหารทราบว่าครูหรือบุคลากรทางการศึกษามีผลงาน
                  ตรงตามปริมาณและคุณภาพตามมาตรฐานที่ก าหนดไว้หรือไม่การวัดประสิทธิภาพว่าบุคลากร

                  มีความสามารถปฏิบัติงานได้ดีเพียงใดจึงใช้การประเมินบุคคลเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ตรวจสอบ
                  และควบคุมการท างานของผู้ปฏิบัติงานซึ่งกระท าหลังจากที่ครูหรือบุคลากรทางการศึกษาเข้ามาท างาน
                  ในโรงเรียนแล้ว และหากมีการบริหารผลการปฏิบัติงานที่ดีจะช่วยให้เป็นแนวทางในการพัฒนางานของครู
                  หรือบุคลากรทางการศึกษา ต่อไปได้















                  คู่มือปฏิบัติงาน
                  โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา
   248   249   250   251   252   253   254   255   256   257   258