Page 71 - 57 คู่มือปฏิบัติงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม
P. 71
๖๓
ช่วงแรก เน้นเนื้อหาเกี่ยวกับภาพรวมของระบบ
ช่วงสอง เน้นเนื้อหาเกี่ยวกับการก าหนดกรอบและวางแผน
ช่วงสาม เน้นเนื้อหาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูล
๒. การแต่งตั้งคณะกรรมการ
การประกันคุณภาพภายในเป็นภารกิจของบุคลากร ในการด าเนินงานจ าเป็นต้องมีผู้รับผิดชอบใน
การประสาน ก ากับ ดูแล ช่วยเหลือ สนับสนุนให้ทุกฝ่ายท างานร่วมกันและเชื่อมโยงเป็นทีม
การด าเนินการประกันคุณภาพภายใน
ขั้นตอนหลัก ๔ ขั้นตอน คือการวางแผน การปฏิบัติตามแผน การตรวจสอบ ประเมินผลและการ
พัฒนาปรับปรุง มีรายละเอียดแต่ละขั้นตอน ดังนี้
๑. การวางแผน เป็นการคิดเตรียมการไว้ล่วงหน้าเพื่อท างานให้ส าเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ การ
วางแผนต้องมีการก าหนดเป้าหมาย ความเชื่อมโยงต่อเนื่องกันโดยตลอด คือแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เป็นแผนระยะยาวที่ครอบคลุมเป้าหมายและแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ขั้นตอนการวางแผนใน
การวางแผนมีขั้นตอนส าคัญ คือการก าหนดเป้าหมาย จัดอันดับความส าคัญของเป้าหมาย การก าหนดแนว
ทางการด าเนินงาน ก าหนดระยะเวลาด าเนินการ
๑.๑ การก าหนดเป้าหมาย วางแผนควรท าเริ่มจากการก าหนดเป้าหมาย แสดงถึงคุณลักษณะที่
ต้องการในสถานศึกษา ระบุชัดเจนในธรรมนูญสถานศึกษาก าหนดเป้าหมาย มีวิธีการ ดังนี้
๑) สถานศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลก่อนการวางแผน ข้อมูลต่างๆ ที่ควรวิเคราะห์
๒) วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อก าหนดเป้าหมายของสถานศึกษา
๑.๒ การจัดอันดับความส าคัญของเป้าหมาย ความส าคัญของเป้าหมายช่วยให้การวางแผนมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น สถานศึกษา ทราบเป้าหมายต่างๆ การนั้น เป้าหมายส าคัญมากน้อยกว่าเพียงใด เพื่อ
กิจกรรม บุคลากร ทรัพยากรและช่วงระยะเวลาที่จะด าเนินการพัฒนาเป้าหมายนั้นๆ
๑.๓ ก าหนดแนวทางการด าเนินหรือวิธีปฏิบัติงาน ก าหนดแนวทางหรือวิธีปฏิบัติ คือการน า
เป้าหมายที่มีลักษณะเป็นนามธรรม ท าให้เป็นรูปธรรมในทางปฏิบัติ คิดโครงการหรือกิจกรรมท าให้บรรลุ
เป้าหมายที่ต้องการ
๑.๔ การก าหนดระยะเวลา ท าแผนการก าหนดระยะเวลาที่เหมาะสมส าหรับการด าเนินงานของ
โครงการหรือกิจกรรมต่างๆ การก าหนดระยะเวลาจะช่วยให้การท างานมีประสิทธิภาพ
๑.๕ การก าหนดงบประมาณ คิดงบประมาณในการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ ค่าตอบแทน และค่าใช้จ่าย
อื่นๆ
๑.๖ การก าหนดผู้รับผิดชอบ ก าหนดผู้รับผิดชอบ ให้ด าเนินการแต่ละขั้นตอนในกิจกรรมและ
โครงการต่างๆ ปัจจัยส าคัญที่ช่วยให้แผนดังกล่าวสามารถด าเนินการให้บรรลุเป้าหมาย
๒. การปฏิบัติตามแผน เมื่อสถานศึกษาวางแผนการปฏิบัติงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว บุคลากรร่วมกัน
ด าเนินการตามแผนที่จัดท าไว้โดยในระหว่างการด าเนินงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลกรทุกคนท างาน
อย่างมีความสุข
๓. การตรวจสอบประเมินผล เป็นกลไกส าคัญกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา ท าให้ได้ข้อมูลย้อนกลับ
สะท้อนให้เห็นถึงการด าเนินงานที่ผ่านมาว่าบรรลุเป้าหมายที่ก าหนดไว้ ต้องปรับปรุงแก้ไขเรื่องใดบ้าง
ตระหนักถึงความส าคัญของงานประเมินผล ไม่กลัวการประเมินผลโดยเฉพาะการประเมินตนเอง ซึ่งเป็นการ
ประเมินที่มุ่งเพื่อการพัฒนาไม่ใช่การตัดสินถูก-ผิด ไม่ใช่การประเมิน เพื่อประเมิน และไม่ใช่เรื่องท ายาก ไม่
ต้องคิดเครื่องมือหรือแบบประเมินมากมาย
คู่มือปฏิบัติงาน
โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา