Page 70 - 57 คู่มือปฏิบัติงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม
P. 70

๖๒


                         ๔)  อบรม/ท าความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ตรวจประเมินภายใน  และท าความเข้าใจ
                  เกี่ยวกับมาตรฐาน และตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา และเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ตลอดจนการ

                  สรุปผลการประเมิน
                         ๕)  โรงเรียนวางแผนก าหนดเวลาในการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาตลอดปี
                         ๖)  กรรมการตรวจประเมินวางแผนก าหนดระยะเวลาในการท าการตรวจประเมินคุณภาพภายใน
                  แต่ละครั้ง แล้วแจ้งให้ผู้รับการตรวจประเมินทราบล่วงหน้าอย่างน้อย ๒ สัปดาห์

                         ๗)  คณะกรรมการตรวจประเมินเตรียมเอกสาร และเครื่องมือประเมินหลายๆ ตัวบ่งชี้เข้าด้วยกัน
                  ส าหรับการถามบุคลากรแต่ละประเภท เช่น ควรตรวจสอบเครื่องมือประเมินที่ใช้กับนักเรียนทั้งหมด แล้ว
                  ออกแบบว่าจะจัดท ากี่ฉบับ จะจัดพิมพ์อย่างไรจะด าเนินการอย่างไร เป็นต้น เพื่อไม่ให้เกิดความร าคาญแก่
                  ผู้ตอบแบบสอบถาม/ผู้รับการประเมิน ซึ่งถ้าท าการสอบถามบ่อย หรือสอบถามทุกวัน จะท าให้เกิดร าคาญ

                  และความเบื่อหน่ายของผู้ตอบ อันจะท าให้ได้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง
                         ๘)  ด าเนินการตรวจประเมิน โดยใช้เครื่องมือประเมินที่สร้างขึ้นและเก็บรวบรวมข้อเท็จจริงที่พบ
                  ตามเครื่องมือประเมิน

                         ๙)  สรุปผลการตรวจประเมิน
                         ๑๐) เขียนรายงานผลการประเมินตนเอง
                         ๑๑) ส่งรายงานให้หน่วยงานต้นสังกัด ผู้เกี่ยวข้อง และสาธารณชน ตามความเหมาะสม


                         การสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
                         การสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล  อาจจะด าเนินการได้ดังนี้  ก าหนดกรอบการตรวจประเมิน
                  คุณภาพภายในโรงเรียน เพื่อเก็บรวบรวมเป็นข้อมูลพื้นฐานตามมาตรฐาน และตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาขั้น

                  พื้นฐาน  โดยวางแผนก าหนดสิ่งต่อไปนี้  ด้านที่จะประเมิน  (ผลผลิต/กระบวนการ/ปัจจัย)  มาตรฐานที่จะ
                  ประเมิน ตัวบ่งชี้ที่จะประเมิน แหล่งข้อมูล/แหล่งที่สามารถให้ข้อมูลได้ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเครื่องมือที่
                  ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีวิเคราะห์ และสรุปข้อมูล เกณฑ์ระดับคุณภาพของผลการประเมิน


                         การเตรียมการก่อนด าเนินการประกันคุณภาพภายใน
                         พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการจัดการเรียนการ
                  สอน การเตรียมการในเรื่องต่างๆ การเตรียมการมีความส าคัญมากที่สุดคือ

                             -  เตรียมความพร้อมของบุคลากร
                             -  การแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะท างาน เพื่อรับผิดชอบในการประสานงาน


                         ๑. การเตรียมความพร้อมของบุคลากร
                         ปัญหาส าคัญในการด าเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา  คือการที่บุคลากรยังไม่เข้าใจ

                  ชัดเจนว่าการประกันคุณภาพภายใน คือการบริหารคุณภาพที่เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการท างาน ปกติ
                         ๑.๑ การสร้างความตระหนักถึงคุณค่าของการประเมินคุณภาพภายในและการท างานเป็นทีม
                                ๑) สถานศึกษาที่มีบุคลากรแกนน า

                                ๒) ในกรณีที่การมอบหมายให้บุคลากรที่เป็นแกนน า
                                ๓) การชี้แจงท าความเข้าใจ ไม่ว่าจะด าเนินการโดยบุคลากรภายใน หรือวิทยากรมืออาชีพ
                         ๑.๒ การพัฒนาความรู้และทักษะเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน
                                ๑) การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการโดยให้ทุกคนเข้าร่วมประชุม
                                ๒) ในการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการนั้น ควรแบ่งเป็นช่วงๆ

                  คู่มือปฏิบัติงาน
                  โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75