Page 72 - 57 คู่มือปฏิบัติงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม
P. 72
๖๔
๓.๑ การวางกรอบการประเมิน คณะกรรมการประชุมร่วมกันกับผู้เกี่ยวข้อง การวางแผนการ
ประเมินเพื่อก าหนดแนวทางในการประเมินว่า ประเมินอะไร ใครเป็นผู้ประเมิน มีรูปแบบการประเมินเป็น
อย่างไรกรอบการประเมินต้องเชื่อมโยงกับเป้าหมายคุณภาพหรือมาตรฐานการศึกษา ระบุในแผนพัฒนา
และแผนปฏิบัติการ เพื่อก าหนดว่าควรประเมินอะไร เป้าตัวบ่งชี้ความส าเร็จการด าเนินงานตามเป้าหมาย
๓.๒ การจัดหา/จัดท าเครื่องหมาย คณะกรรมการประชุมร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เพื่อก าหนดเครื่องมือที่
ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล หลังจากนั้นก็จัดหา-จัดท าเครื่องมือขั้นตอน
๓.๓ การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล พิจารณาจากประเด็นแนวทางการเก็บข้อมูล
๓.๔ การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลของสถานศึกษา ผู้รับผิดชอบควรร่วมกันพิจารณา
กรอบการวิเคราะห์ วิธีการวิเคราะห์
๓.๕ การแปลความหมาย ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์น ามาใช้ประโยชน์ต่อเมื่อสถานศึกษาได้แปล
ความหมายของข้อมูล มีการเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ก าหนด
๓.๖ การตรวจสอบ/ปรับปรุงคุณภาพการประเมิน สถานศึกษาได้ด าเนินการแผนที่ก าหนดไว้ ต้องมี
การตรวจสอบกระบวนการและผลการประเมิน ความเหมาะสม ถูกต้องและน่าเชื่อถือ
๔. การน าผลการประเมินมาปรับปรุง
บุคลากรแต่ละคน แต่ละฝ่ายมีการประเมินผลเสร็จเรียบร้อย ส่งผลให้กับคณะกรรมการ
ที่รับผิดชอบ ต้องรวบรวมผลการประเมินมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ แปลผลในภาพรวมทั้งหมด เเล้วน าเสนอ
ผลการประเมินต่อผู้เกี่ยวข้อง
๔.๑ การปรับปรุงการปฏิบัติงานของผู้บริหารและบุคลากร
๔.๒ การวางแผนในระยะต่อไป
๔.๓ การจัดท าข้อมูลสารสนเทศ
การจัดท ารายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หรือรายงานประจ าปี
สถานศึกษาด าเนินการตามแผน มีการประเมินผลภายในเสร็จเรียบร้อย จัดท ารายงานการประเมิน
ตนเองหรือรายงานประจ าปี เพื่อเผยแพร่ให้ผู้เกี่ยวข้องทุกกลุ่มได้เนื้อหาสาระที่น าเสนอในรายงานการ
ประเมินตนเองหรือรายงานประจ าปี ควรมีดังนี้
๑. ข้อมูลสภาพทั่วไปของสถานศึกษา
๒. วิสัยทัศน์ เป้าหมายหรือมาตรฐาน
๓. ผลการประเมินตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้
๔. สรุปผลการประเมินของมาตรฐานเเต่ละด้าน
๕. ภาคผนวก
บทบาทของผู้เกี่ยวข้อง
บทบาทเดิม
ผู้บริหาร และครู ในสถานศึกษาส่วนใหญ่ มักจัดการศึกษาโดยไม่เน้นการประกันคุณภาพภายใน
อาจจะจัดการเรียนการสอนโดยไม่ค่อยมีการวางแผน รวมทั้งบุคลากรและองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้องเข้า
มามีส่วนร่วมเท่าที่ควร
บทบาทที่พึงประสงค์
ผู้บริหาร ครู ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ส านักงานกลุ่มโรงเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
เข้ามามีบทบาทร่วมกันในการประกันคุณภาพภายใน
คู่มือปฏิบัติงาน
โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา