Page 66 - 57 คู่มือปฏิบัติงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม
P. 66

๕๘


                             (๒)  ติดตาม ตรวจสอบแก้ไขปรับปรุงการปฏิบัติงานที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน
                  และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา  ตามระยะเวลาที่เหมาะสมได้ก าหนดไว้ว่าจะแก้ไขเสร็จ  ทั้งนี้

                  เพื่อให้แน่ใจว่าข้อบกพร่องที่พบ ได้รับการแก้ไขอย่างจริงจัง
                             (๓)  สรุปผลการตรวจ  และรายงานผลการตรวจสอบการประกันคุณภาพการศึกษาของ
                  สถานศึกษาโดยการจัดท ารายงานผลการประเมินตนเอง (SAR)
                             (๔)  ส าหรับงานที่มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่ก าหนดไว้  ให้พัฒนาการปฏิบ้ติงานให้มี

                  ประสิทธิภาพยิ่งๆ ขึ้นต่อไป


                         ๖)  การประเมินเเละรับรองคุณภาพ  การเตรียมการเพื่อรับการประเมินจากส านักงานรับรอง
                  มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา โดยด าเนินการ ดังนี้
                             (๑)  ผู้เกี่ยวข้องจัดเตรียมหลักฐานการปฏิบัติงาน  และข้อมูลต่างๆ  ตามมาตรฐานคุณภาพ
                  การศึกษาขั้นพื้นฐาน  และรายงานการประเมินตนเองไว้ล่วงหน้าให้พร้อม  เพื่อรับการประเมินจากองค์กร
                  ภายนอก  ที่เป็นผู้แทนส านักงานรับรองมาตรฐาน  และประเมินคุณภาพการศึกษาตามก าหนดระยะเวลาที่

                  องค์กรภายนอกจะมาประเมินคุณภาพของสถานศึกษา
                             (๒)  รับการประเมินจากองค์กรภายนอก  โดยองค์กรภายนอกจะท าการประเมินคุณภาพของ
                  สถานศึกษาตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน  ซึ่งเมื่อองค์กรภายนอกจัดส่งรายงานข้อเท็จจริง

                  ดังกล่าวให้กับส านักงานรับรองมาตรฐานเเละประเมินคุณภาพการศึกษา
                             (๓)  ถ้าส านักงานรับรองมาตรฐาน  และประเมินคุณภาพการศึกษา  พิจารณารายงาน
                  ข้อเท็จจริงแล้ว  เห็นว่า  สถานศึกษามีคุณภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานครบถ้วนทั้งหมด
                  ก็จะให้การรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา  ซึ่งหมายความว่า  สถานศึกษาได้รับการ

                  รับรองคุณภาพการศึกษาจากส านักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษาแล้วซึ่งการรับรอง
                  ดังกล่าวจะมีอายุ ๕ ปี คือ เมื่อครบ ๕ ปี สถานศึกษาจะต้องถูกประเมินคุณภาพใหม่ทั้งหมด อย่างไรก็ตาม
                  ระหว่างที่สถานศึกษาได้รับใบรับรองคุณภาพการศึกษา  องค์กรภายนอกจะมาท าการประเมินคุณภาพ
                  การศึกษาของสถานศึกษาอย่างสม่ าเสมอ ตลอดเวลา

                             (๔)  ถ้าสถานศึกษาไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                  สถานศึกษาต้องปรับปรุงคุณภาพของสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน  ตามระยะเวลาที่คณะกรรมการประเมิน
                  ก าหนดแล้วขอรับการประเมินใหม่  แต่ถ้าถึงระยะเวลาที่ก าหนดแล้ว  สถานศึกษายังมีการพัฒนายังไม่ถึง
                  เกณฑ์ ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ต้องรายงานต่อคณะกรรมการการศึกษา

                  ขั้นพื้นฐาน เพื่อให้ด าเนินการปรับปรุงแก้ไขตามมาตรา ๕๑ ของหมวด ๖ ของพระราชบัญญัติการศึกษา
                  แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕


                         การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
                         การประเมินคุณภาพภายใน (lnternaI Guality Assessment) เป็นกระบวนการประเมินผล
                  การด าเนินงานของหน่วยงานที่กระท าโดยบุคลากรในหน่วยงาน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้

                  ข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุงพัฒนาการด าเนินงานให้บรรลุเป้าหมายที่ก าหนดไว้ ซึ่งการประเมินภายในนี้ถือ
                  เป็นกระบวนการตรวจสอบการท างานของตนเอง  (self  evaluation)  สถานศึกษาควรก าหนดให้
                  การประเมินภายในเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่องของสถานศึกษา  และถ้าโรงเรียนจัดท า
                  มาตรฐานการปฏิบัติงานแล้ว  ดังนั้น  ในการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนควรด าเนินการ
                  ประเมิน ๒ ลักษณะ ได้แก่



                  คู่มือปฏิบัติงาน
                  โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71