Page 96 - 57 คู่มือปฏิบัติงานโรงเรียนพระปริยัติธรรม
P. 96
๘๘
การสร้างเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์จะต้องก าหนดเกณฑ์การประเมินให้ชัดเจนเหมาะสม
เพราะเกณฑ์การประเมินเป็นแนวทางในการให้คะแนนที่ประกอบด้วยเกณฑ์ด้านต่างๆ เพื่อใช้ประเมินค่า
ผลการประพฤติปฏิบัติของผู้เรียน เกณฑ์เหล่านี้คือสิ่งส าคัญที่ผู้เรียนควรประพฤติจนกลายเป็นลักษณะนิสัย
เกณฑ์การประเมินมี ๒ ลักษณะ คือ
๑) เกณฑ์การประเมินเเบบภาพรวม (HolistiC Rubrics) คือ แนวทางการให้คะแนนโดย
พิจารณาจากภาพรวมการปฏิบัติ โดยจะมีค าอธิบายลักษณะของการปฏิบัติในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน
เช่น มีวินัย
ระดับ ๓ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัวและโรงเรียน
ปฏิบัติกิจกรรมหรือท างานที่ได้รับมอบหมายเสร็จทันเวลาได้ด้วยตนเอง
ระดับ ๒ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัวเเละโรงเรียน
โดยต้องมีการเตือนเป็นบางครั้ง
ระดับ ๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัวและโรงเรียน
โดยต้องมีการเตือนเป็นส่วนใหญู่
๒) เกณฑ์การประเมินแบบแยกประเด็น (AnalyticaI Rubrics) คือ แนวทางการให้คะแนนโดย
พิจารณาแต่ละส่วนของการปฏิบัติ ซึ่งแต่ละส่วนจะต้องก าหนดค าอธิบายลักษณะของการปฏิบัติในส่วนนั้นๆ
ไว้อย่างชัดเจน เช่น มีวินัย
รายการประเมิน ระดับคะแนน
๑ ๒ ๓
ปฏิบัติตามข้อตกลง ปฏิบัติตามข้อตกลง ปฏิบัติตามข้อตกลง ปฏิบัติตามข้อตกลง
กฎเกณฑ์ ระเบียบ กฎเกณฑ์ระเบียบข้อบังคับ กฎเกณฑ์ระเบียบ กฎเกณฑ์ระเบียบ
ข้อบังคับของ ของครอบครัวและโรงเรียน ข้อบังคับของครอบคร้ว ข้อบังคับของครอบครัว
ครอบครัวและ โดยมีการเตือนเป็นบางครั้ง และโรงเรียนโดยมีการ และโรงเรียนโดยไม่มีการ
โรงเรียน เตือน เตือน
การตรงต่อเวลา ปฏิบัติกิจกรรมหรือท างาน ปฏิบัติกิจกรรมหรือ ปฏิบัติกิจกรรมหรือ
ที่ได้รับมอบหมายเสร็จ ท างานที่ได้รับมอบหมาย ท างานที่ได้รับมอบหมาย
ทันเวลาได้ด้วยตนเองโดย เสร็จทันเวลาได้ด้วย เสร็จทันเวลาได้ด้วย
ต้องมีการเตือนเป็นส่วน ตนเองโดยมีการเตือน ตนเอง
ใหญ่ เป็นบางครั้ง
สรุปผลการประเมิน ๕ – ๖ คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม
๓ – ๔ คะแนน หมายถึง ดี
๑ – ๒ คะแนน หมายถึง ผ่าน
คู่มือปฏิบัติงาน
โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา