Page 121 - curriculum-rangsit
P. 121

118                                                                                กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น   119
                                                                                          “นครรังสิต“





 ๒. สาระการเรียนรู้ท้องถิ่นตามตัวชี้วัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ    สาระที่ ๓ นาฏศิลป์


                     ๑. การแสดงนาฏศิลป์พื้นบ้านหรือท้องถิ่น ได้แก่ ล�าพาข้าวสาร เป็นการละเล่นของชาวรังสิต ที่ตั้งบ้านเรือน
   สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์  อยู่ริมแม่น�้าล�าคลอง การล�าพา หมายถึง การเที่ยวร้องขอเชิญชวน ให้น�าข้าวสารมาร่วมท�าบุญในงานออกพรรษา

            ทอดกฐิน หรือทอดผ้าป่า เพลงโนเน เป็นการละเล่นพื้นเมืองประกอบการโขลกขนมจีน เพื่อใช้ในงานบุญต่างๆ เช่น
      ๑. การใช้ดินเหนียวสร้างงานทัศน์ศิลป์ ทีใช้วัสดุจากท้องถิ่น คือ ดินสามโคก ปั้นขึ้นรูปเลียนแบบตุ่มสามโคก    ง านบวชนาค  งานออกพรรษา  งานเข้าพรรษา  และงานแต่งงานเป็นต้น  เพลงระบ�า  เพลงร�าโทนเป็นการละเล่นของ
 ที่เป็นผลิตภัณฑ์มีชื่อเสียงของจังหวัดปทุมธานี  การจัดนิทรรศการภาพวาดงานปั้น  ที่สะท้อนถึงวัฒนธรรมของชาวจังหวัด   ชาวบ้านที่ร้องเล่นกันหลังจากเสร็จภาระกิจการท�างาน และ ร�ามอญ เป็นการร�าในพิธีกรรมเซ่นสรวงบรรพบุรุษ ร�าใน

 ปทุมธานี   งานมงคล และอวมงคล
      ๒. การออกแบบวาดภาพโปสเตอร์น�าเสนอของดีเมืองปทุมธานี  โดยการใช้วาดออกแบบ  และลงสีโปสเตอร์       ๒. การประดิษฐ์ท่าทางประกอบเพลงโนเน  และเพลงระบ�า  เพลงโนเน  และเพลงระบ�าเป็นเพลงที่มีท�านอง

 งานน�าเสนอของดีเมืองปทุมธานี อันได้แก่ กลุ่มผลิตภัณฑ์ กลุ่มอาหาร โบราณสถาน เป็นต้น  เพลงง่ายๆ โดยร้อยเรียงมาเป็นค�ากลอน ร้องเล่นกันเพื่อประกอบการโขลกขนมจีน และหลังเสร็จภาระกิจการท�างาน
      ๓.  รูปแบบงานทัศนศิลป์ของท้องถิ่น  ได้แก่  พระอุโบสถวัดชินวราราม  และจิตรกรรมฝาผนังวัดชินวราราม   เป็นกุศโลบายที่ช่วยผ่อนคลายความเหน็ดเหนื่อยในการท�างาน

 อันเป็นศิลปะแบบไทย ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ที่ถ่ายทอดเรื่องราวของของศาสนา ความเชื่อ ผ่านลายเส้น และสี


   สาระที่ ๒ ดนตรี
                แหล่งการเรียนรู้
      ๑. บทเพลงพื้นบ้าน ได้แก่ ล�าพาข้าวสาร เป็นการละเล่นของชาวรังสิต ที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมแม่น�้าล�าคลอง        ๑. หนังสือ

 การล�าพา หมายถึงการเที่ยวร้องขอเชิญชวน ให้น�าข้าวสารมาร่วมท�าบุญในงานออกพรรษา ทอดกฐิน หรือทอดผ้าป่า              ๑.๑  หนังสือนครรังสิตของเรา

 เพลงโนเน เป็นการละเล่นพื้นเมืองประกอบการโขลกขนมจีน เพื่อใช้ในงานบุญต่าง ๆ เช่นงานบวชนาค งานออกพรรษา             ๑.๒  ๒๐๐ ปีเมืองปทุมธานี
 งานเข้าพรรษา และงานแต่งงานเป็นต้น เพลงระบ�า เพลงร�าโทนเป็นการละเล่นของชาวบ้านที่ร้องเล่นกันหลังจากเสร็จ         ๒.  หนังสือพิมพ์รังสิตโพสต์
 ภาระกิจการท�างาน และร�ามอญ เป็นการร�าในพิธีกรรมเซ่นสรวงบรรพบุรุษ ร�าในงานมงคล และอวมงคล              ๓.  ศูนย์ข้อมูลรังสิต

      ๒. วงดนตรีพื้นเมือง ได้แก่ วงปี่พาทย์มอญเป็นวงดนตรีที่เป็นเอกลักษณ์ของชาวไทยเชื้อสายมอญที่สืบทอด           ๓.๑  http://rangsit.org/New/index.php/th/

 กันมาทุกบ้าน  ปี่พาทย์มอญเป็นดนตรีที่บ่งบอกความเป็นเอกลักษณ์ของชนชาติ  ทั้งรูปแบบการบรรเลง  และท�านอง           ๓.๒  http://sras.tu.ac.th/images/phocagallery/service_society.pdf
 เพลง                ๔. แหล่งเรียนรู้อื่นๆ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต พิพิธภัณฑ์ สื่อโฆษณา ป้ายประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
      ๓. เอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น  ได้แก่  ภาษาและเนื้อหาในบทร้องของ  เพลงล�าพาข้าวสาร  ภาษาและ

 เนื้อหาในบทร้องของเพลงโนเน เป็นการละเล่นของชาวบ้าน ที่ประพันธ์ง่ายๆโดยใช้กลอนหัวเดียว เนื้อหาส่วนใหญ่จะ

 เป็นการเชิญชวนมาร่วมท�าบุญ และหยอกล้อ
      ๔. ความสัมพันธ์ของวิถีชีวิตกับเพลงพื้นบ้าน เนื้อหาเรื่องราวในบทเพลงระบ�ากับวิถีชีวิต และเนื้อหาเรื่อง
 ราวในบทเพลงร�าโทนกับวิถีชีวิต ที่บ่งบอกถึงความเป็นคนชาวไทยภาคกลางที่เป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอน และใช้ศิลปะ

 แห่งการร้องล�ามาเป็นส่วนหนึ่งในการผ่อนคลายความเหนื่อยล้าจากการท�างาน

      ๕. โอกาสในการแสดง ได้แก่ ดนตรีกับงานประเพณี บทเพลงล�าพาข้าวสารในงานประเพณีในท้องถิ่น และ
 บ ทเพลงโนเนในงาน  ประเพณีในท้องถิ่น  การแสดงปี่พาทย์มอญแต่เดิมใช้แสดงในทุกๆโอกาส  แต่ที่นิยมจะนิยมไป
 แสดงในงานอวมงคล ส่วนเพลงล�าพาข้าวสาร และเพลงโนเนเป็นเพลงที่ร้องร�ากันในงานบุญ และงานมงคลต่างๆ

      ๖. บทบาทและอิทธิพลของดนตรี ที่มีต่อชาวไทยเชื้อสายมอญ ปี่พาทย์มอญมีบทบาทที่ส�าคัญในการบ่งบอก

 ความเป็นชาวไทยเชื้อสายมอญ เนื่องจากชาวมอญได้รับการสืบทอดการบรรเลงวงปี่พาทย์มอญมาตั้งแต่เยาว์ กล่าวได้
 ว่าเป็นเอกลักษณ์อันหนึ่งที่บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของชนชาติมอญ
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126