Page 150 - curriculum-rangsit
P. 150

148                                                                                                                                                                                                 กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น   149
                                                                                                                                                                                                                 “นครรังสิต“





                     สาระการเรียนรู้ระดับท้องถิ่น “นครรังสิต” เป็นสาระการเรียนรู้ที่โรงเรียนสามารถเลือกบรรจุไว้ในหลักสูตร                   ๒. ด้านประวัติความเป็นมานครรังสิต  หมายถึง  เรื่องราว  หรือเหตุการณ์ส�าคัญที่เกิดขึ้นในชุมชน
            สถานศึกษาตามบริบทของโรงเรียนที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ๗ ด้าน ดังนี้                                                     นครรังสิต  ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันซึ่งอาจจะมีการจดบันทึกเก็บไว้  หรือเล่าเป็นเรื่องราวใดๆ  กันมา  หรืออาจจะเป็น

                                                                                                                                   ประสบการณ์จากผู้อาวุโสหรือปราชญ์ชาวบ้านที่ถ่ายทอดไว้ ประกอบด้วยสาระย่อย ๕ สาระ ดังนี้
                     ๑. ด้านภูมิศาสตร์ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพ ภูมิอากาศ สภาพเศรษฐกิจ ทรัพยากร ธรรมชาติและ

            สิ่งแวดล้อม ประกอบด้วยสาระย่อย ๒ สาระ ดังนี้                                                                           สาระที่ ๑   ประวัติศาสตร์นครรังสิต


                                                                                                                                            ทุ่งหลวงรังสิต  ก�าเนิดและพัฒนามาจากทุ่งหลวง  ซึ่งเป็นทุ่งกว้างใหญ่ไพศาล  เป็นที่ราบลุ่มต�่ามากมีปัญหา
            สาระที่ ๑   ภูมิศาสตร์กายภาพ
                                                                                                                                   การระบายน�้าที่ไม่สะดวกท�าให้ไม่เหมาะสมที่จะตั้งถิ่นฐานท�ามาหากิน  สภาพเป็นป่าละเมาะ    ป่าโปร่ง    ทุ่งหญ้าและ
                     สภาพทั่วไปในเขตเทศบาลนครรังสิตเป็นที่ราบลุ่มในเขตทุ่งหลวง มีคลองรังสิตประยูรศักดิ์ผ่านกลางแบ่งเขต             ป่าปรือ ทุ่งนี้เรียกกันมาแต่โบราณว่า “ทุ่งหลวง” และได้พัฒนามาประมาณ ๑๐๐ ปีก่อน ที่มีการพัฒนาการที่เด่นชัด
            พื้นที่ออกเป็น ๒ ส่วน ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชด�าริให้ขุดตั้งแต่ปี ๒๔๓๓ โดยขุดแยกจาก          นับตั้งแต่แรก  คือเริ่มต้นจากการลงทุนของเอกชนเพื่อพัฒนาการขุดคลองโดย  “บริษัทขุดคลองแลคูนาสยามจ�ากัด”

            แม่น�้าเจ้าพระยาที่ต�าบลบ้านใหม่ อ�าเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี ไปจนถึงเขตอ�าเภอองครักษ์  จังหวัดนครนายก  ความยาว         เกิดขึ้นในช่วงกลางรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  รัชกาลที่  ๕  ถือว่าเป็นช่วงที่มีการขยายตัว
            โดยประมาณ  ๓๘.๔  กิโลเมตร  มีคลองซอย  ๑๔  คลอง  สองฝั่งคลองรังสิตประยูรศักดิ์มีคลองซอยห่างกัน  ๖๐  เส้น                ของพื้นที่ และน�าไปสู่การพัฒนาที่ดินในการปลูกข้าวและพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมควบคู่กับการพัฒนาเมืองรองรับ
            ประมาณ ๒๔๐๐ เมตร อยู่ในเขตเทศบาลนครรังสิต จ�านวน ๓ คลองซอย ใช้ส�าหรับส่งน�้าเพื่อประโยชน์ทางกสิกรรม
            และคมนาคมขนส่ง ปัจจุบันมีการสร้างอาคารบ้านเรือน โรงงานอุตสาหกรรม และการอยู่ร่วมกันหนาแน่นในด้านทาง                     การขยายตัวของกรุงเทพมหานคร

            ทิศตะวันตก                                                                                                             สาระที่ ๒   ประวัติศาสตร์ยุคก่อนบุกเบิก
                     เทศบาลนครรังสิตมีพื้นที่ครอบคลุมต�าบลประชาธิปัตย์ทั้งต�าบล จ�านวน ๘๑ ชุมชน  จ�านวน ๒๐.๘๐ ตาราง
            กิโลเมตร  มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ต่าง ๆ ดังนี้                                                                                “ทุ่งพญาเมือง” เป็นบ้านเมืองของสยามร่วมสมัยกับสมัยอยุธยาตอนต้นและภายหลังการล้มสลายของทุ่ง
                                                                                                                                   พญาเมือง  จึงโปรดเกล้าให้ชาวมอญเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาณได้ตั้งชุมชนบ้านเรือนขึ้น  ณ  บริเวณฝั่งทิศตะวันตก
                     ด้านเหนือ    ติดต่อกับเขตเทศบาลเมืองคลองหลวงและเขตองค์การบริหารส่วนต�าบลคลองสาม อ�าเภอ
                                คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี                                                                           ของแม่น�้าเจ้าพระยาที่ต�าบลสามโคก  ดังปรากฏหลักฐานในหนังสือก�าสรวลศรีปราชญ์  ซึ่งเป็นวรรณกรรมที่เกิดขึ้นใน

                     ด้านตะวันออก ติดต่อกับเขตเทศบาลต�าบลบึ่งยี่โถ อ�าเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี                                   สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น
                     ด้านใต้      ติดต่อกับเขตเทศบาลเมืองคูคต และเขตเทศบาลเมือง ล�าสามแก้ว อ�าเภอล�าลูกกา จังหวัด
                                ปทุมธานี                                                                                           สาระที่ ๓   ประวัติศาสตร์ยุคบุกเบิก
                     ด้านตะวันตก  ติดต่อกับเขตเทศบาลต�าบลหลักหก และเขตองค์การบริหารส่วนต�าบลบางพูน อ�าเภอเมือง                              ทุ่งหลวงเริ่มพัฒนาขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตามโครงการเพิ่มพื้นที่ท�านา

                                จังหวัดปทุมธานี                                                                                    เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวส�าหรับส่งออกตามข้อก�าหนดสนธิสัญญาเบาว์ริงไทยท�ากับอังกฤษ ยุคนี้เริ่มตั้งแต่มีสัมปทานขุด
                                                                                                                                   คลองขยายบริษัทขุดคลองแลคูนาสยามในปี  พ.ศ.  ๒๔๓๑  มีผลตามมาให้เกิดการบุกเบิกที่ดินขนาดใหญ่  “ทุ่งหลวง”
            สาระที่ ๒   ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ
                                                                                                                                   จากสภาพทุ่งและป่าสู่นาข้าวอันกว้างใหญ่ไพศาล  ทั้งนี้เพื่อเป็นการตอบสนองต่อเศรษฐกิจการค้าข้าวที่ได้ขยายตัวขึ้น
                     จังหวัดปทุมธานีมีวิสัยทัศน์ที่พัฒนาปทุมธานีให้เป็นศูนย์กลางการศึกษา  วิจัย  และพัฒนาเทคโนโลยีของ              อย่างกว้างขวางภายหลังสนธิสัญญาเบาว์ริง ต่อมาพ.ศ. ๒๓๙๐ การพัฒนารังสิตได้มาถึงจุดสูงสุดเมื่อมีการพัฒนาระบบ
            ภูมิภาค (Education and Technology Hub) พร้อมเสริมสร้างความเข้มแข็งวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม  เช่น                    ชลประทานโดยรัฐ ตามโครงการป่าสักใต้เป็นผลส�าเร็จในพ.ศ.  ๒๔๗๐  ซึ่งท�าให้การผลิตและการค้าข้าวในเขตนี้ด�าเนิน
            ท่าเรือในเทศบาลนครรังสิต มีทั้งหมด ๒ ท่า คือ ท่าเรือตลาดในและท่าเรือสะพานแก้ว เรือที่ใช้วิ่งโดยสาร คือ เรือส�าปั้น     ไปได้อย่างมั่นคง
            เป็นเรือแจว ท่าเรือทั้ง ๒ นี้ สร้างโดยชาวบ้านที่อาศัยอยู่บริเวณนั้น ๆ ชาวบ้านบริเวณคลองหนึ่งจะใช้บริการเป็นส่วนใหญ่

            เนื่องจากมาจับจ่ายซื้อของที่ตลาดในคลองรังสิต มีความส�าคัญต่อการเป็นอยู่ของผู้คนอย่างใกล้ชิด โดยจ�าแนกบทบาท             สาระที่ ๔   ประวัติศาสตร์ยุคแห่งการพัฒนาเกษตรกรรม
            ที่ส�าคัญของคลองรังสิตในอดีตดังนี้ เพื่ออ�านวยความสะดวกในการสัญจรทางน�้า คลองช่วยในการคมนาคมขนส่งทางน�้า
            เป็นไปโดยสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การขนส่งพืชผลนอกพื้นที่เข้าสู่เทศบาลนครรังสิต เพื่อการบริโภค                 การบุกเบิกที่ดินในเขตรังสิตแต่ยุคของการพัฒนาเกษตรกรรม โดยเฉพาะใน การผลิตข้าวได้เริ่มขึ้นอย่างจริงจัง

            การจ�าหน่าย เพื่อเป็นแหล่งเพาะเลี้ยงและจับสัตว์น�้า ในอดีตคลองรังสิตมีน�้าใสสะอาด  เป็นแหล่งเพาะเลี้ยงและจับสัตว์น�้า   เมื่อเขตรังสิตได้เป็นเขตแรกที่รัฐบาลตกลงใจเข้าไปพัฒนาระบบชลประทานตามโครงการป่าสักใต้  และโครงการนี้ได้มี
            มาบริโภคเป็นอาหารของคนในท้องถิ่น สัตว์น�้ามีอยู่อย่างชุมชนในคลอง เพื่อการส่งน�้าเข้าไร่นาและการระบายน�้า ในอดีต        ผลอย่างจริงจังในทศวรรษ  ๒๔๗๐  เมื่อการปลูกข้าวในเขตนี้อยู่ภายใต้การควบคุมโดยชลประทาน  มีผลท�าให้สามารถ
            มีวัตถุประสงค์ส�าคัญอย่างยิ่ง  คลองรังสิตประยูรศักดิ์  ซึ่งขุดเชื่อมแม่น�้าเจ้าพระยากับแม่น�้านครนายกนั้นให้ประโยชน์   ผลิตข้าวได้ในปริมาณที่สม�่าเสมอและแน่นอน รวมถึงสามารถขยับขยายพื้นที่การผลิตข้าวให้กว้างขวางยิ่งขึ้น
            ในด้านการเกษตรและการชลประทานอย่างกว้างขวางในบริเวณทุ่งหลวง หรือที่ปัจจุบัน เรียกว่า “ทุ่งรังสิต” จนกลาย

            เป็นแหล่งปลูกข้าวที่ส�าคัญมาก แห่งหนึ่งในพื้นที่ใกล้กรุงเทพฯ
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155