Page 153 - curriculum-rangsit
P. 153

150                                                                                กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น   151
                                                                                          “นครรังสิต“





 สาระที่ ๕   ประวัติศาสตร์ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง       การปกครองระดับต�าบลจะกระจายอ�านาจไปสู่หน่วยงานการปกครองส่วนท้องถิ่น  ซึ่งสภาต�าบลได้รับการเลือกตั้ง
            จะขึ้นอยู่กับขนาดรายได้จากภาษีต�าบล  อาจอยู่ภายใต้การบริหารการจัดการโดยองค์การบริหารส่วนต�าบลหรือ
      พื้นที่ของทุ่งหลวงรังสิต ได้เปลี่ยนแปลงจากแหล่งผลิตข้าวไปเป็นชานเมืองที่รองรับโรงงานอุตสาหกรรมและ
 บ้านจัดสรร เพราะมีการตัดถนนพหลโยธินในปี พ.ศ. ๒๔๗๙ จึงท�าให้บริเวณนี้สะดวกในการเดินทางเข้ากรุงเทพมหานคร   สภาต�าบลก็ได้  องค์การบริหารส่วนต�าบลนั้นจะประกอบด้วยผู้แทนสองคนจากแต่ละหมู่บ้านในต�าบล  ผู้แทนจะเลือก
 มากกว่าปทุมธานี ราชการส่วนกลางจึงแยกตั้งหน่วยที่นี่มากกว่า อาทิ พิพิธภัณฑ์ สถานสงเคราะห์ หรือมหาวิทยาลัย    ประธาน ประธานจะเป็นก�านันของต�าบล ในหนึ่งต�าบลจะมีก�านันท�าหน้าที่ปกครองท้องถิ่นนั้น ๆ และมีผู้ช่วยเรียกว่า

 แม้ว่าชาวรังสิตจะมีรายได้จากการขายหรือเช่าที่นาเดิมแต่เอกลักษณ์ของเมืองข้าวเดิมหายไป  สารวัตรก�านันอีกทั้งยังมีแพทย์ประจ�าต�าบลนั้น ๆ ด้วย ต�าบลบึงทะเลสาบมีก�านันคนแรกชื่อ ก�านันผึ่ง บัวเผื่อนหอม

      ทุ่งหลวงรังสิต  เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัดในช่วงปี  พ.ศ.  ๒๕๐๐  เป็นต้นมา  ที่ส�าคัญ  เริ่มจาก   เป็นก�านันในสมัยนั้น ท�าหน้าที่ดูแลเอกสารต่างๆ เช่น การแจ้งย้ายที่อยู่ การเกิด การตาย ในสมัยก่อนยังไม่มีเทคโนโลยี
 การปรับเปลี่ยนจากการผลิตข้าว ไปสู่การเพาะปลูกพืชอื่น ๆ ที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่า เช่น การท�าสวนผัก สวนส้ม   การท�าเอกสารโดยการเขียนกรอกข้อมูลด้วยปากกา รวมถึงการบริการด้านต่าง ๆ ของประชาชนในต�าบล มีพาหนะไป
 แตงโม และผลไม้อื่น ๆ เพื่อตอบสนองตลาดภายในประเทศและตลาดเพื่อการส่งออก ในขณะเดียวกันพื้นที่อีกบางส่วน   ท�าหน้าที่ในการดูแลพื้นที่โดยใช้ม้าหรือเรือพาย  ก�านันในสมัยนั้นมีค่าตอบแทนคือเงินเดือน  และมีนายนนท์  วรรักษา

 ได้พัฒนาไปสู่การผลิตในภาคอุตสาหกรรม  ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่  ๑  พื้นที่ดังกล่าวได้แก่    เป็นผู้แทนราษฎรคนแรกที่เข้ามาดูแลในเขตต�าบลบึงทะเลสาบ  ต่อมาเมื่อก�านันผึ่ง  บัวเผื่อนหอม  หมดวาระได้มี

 พื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น�้าเจ้าพระยาบริเวณคลองรังสิต  การเลือกตั้งก�านันคนใหม่ขึ้นมาแทน ก�านันคนต่อมาคือ นายสังวาล บัวเผื่อนหอม ซึ่งเป็นลูกชายของก�านันผึ่ง บัวเผื่อนหอม
            เมื่อหมดวาระมีก�านันคนที่  ๓  คือ  นายยงยุทธ  หาญเกียรติกล้า  หรือเรียกกันว่า  ก�านันหมู  ในสมัยก�านันหมู
            มีผู้แทนราษฎรที่เข้ามาดูแลท้องถิ่นคือ  นายล�าพู  สงวนสัตย์  จนกระทั่งได้มีการเปลี่ยนระบบการเมืองการปกครอง
     ๓.  ด้านการเมืองการปกครอง  หมายถึง การปกครองซึ่งราชการส่วนกลางได้มอบอ�านาจใน การปกครอง

 และบริหารกิจการงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวข้องกับการให้บริการประชาชนในเขตพื้นที่  โดยประชาชนมีส่วนร่วม   อันเนื่องจากจ�านวนบ้านเรือนและประชาชนในพื้นที่เพิ่มจ�านวนมากขึ้น ได้เปลี่ยนแปลงระบอบการเมืองการปกครอง

 ด�าเนินกิจการอันเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับท้องถิ่น ประกอบด้วยสาระย่อย ๔ สาระ ดังนี้  เป็นสุขาภิบาลต�าบลประชาธิปปัตย์ โดยยกฐานะมาจากสุขาภิบาล เมื่อ พ.ศ.๒๕๓๗ ตามพระราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๑๑
            ตอนที่ ๔๙ ลงวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๓๗ เป็นต้นมา มีเขตปกครอง
            ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของต�าบลประชาธิปัตย์  จ�านวน  ๖  หมู่บ้าน  มีเขตการปกครองครอบคลุมพื้นที่ประชาธิปัตย์
 สาระที่ ๑   การเมืองการปกครองในอดีต
            ทั้งต�าบลมีเนื้อที่ ๒๐.๘๐ ตารางกิโลเมตร และมีอาณาเขตติดต่อกับเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นข้างเคียงดังต่อไปนี้
      ก�าเนิดเมืองธัญบุรีเดิมพื้นที่เป็นพื้นที่รกร้างเรียกว่า “ทุ่งหลวง” เป็นทุ่งกว้างใหญ่ รกร้างในแผ่นดินของ
 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้  “บริษัทขุดคลองและคูนาสยาม”  เข้ามาขุดคลองในปี  พ.ศ.  ๒๔๓๓                 ทิศเหนือ        ติดต่อกับเขตเทศบาลเมืองคลองหลวง และเขตองค์การบริหารส่วนต�าบลคลองสาม

 และทรงพระราชทานนามว่า  “คลองรังสิตประยูรศักดิ์”  เมื่อมีผู้อพยพเข้ามาอยู่มากขึ้น  จึงจัดสร้างเมืองใหม่ขึ้น                  (อ�าเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี)
 พระราชทานนามเมืองว่า “เมืองธัญบุรี” เมื่อวันที่ ๖ เมษายน ๒๔๔๕ แบ่งเขตการปกครองเป็น ๔ อ�าเภอ คือ ๑. อ�าเภอ                ทิศตะวันออก   ติดต่อกับเขตเทศบาลเมืองบึงยี่โถ (อ�าเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี)

 เมืองธัญบุรี (รังสิต) ๒. อ�าเภอคลองหลวง ๓. อ�าเภอหนองเสือ ๔. อ�าเภอล�าลูกกา การปกครองอ�าเภอธัญบุรี (รังสิต)                 ทิศใต้            ติดต่อกับเขตเทศบาลเมืองล�าสามแก้วและเขตเทศบาลเมืองคูคต
 แบ่งเป็น ๖ ต�าบล ๒๘ หมู่บ้าน ต�าบลบึงทะเลสาบ ปัจจุบันคือ ต�าบลประชาธิปัตย์ เป็นหนึ่งใน ๖ ต�าบล การปกครองใน                  (อ�าเภอล�าลูกกา จังหวัดปทุมธานี)

 ระดับต�าบลมีก�านัน ในระดับหมู่บ้านมีผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สารวัตรก�านัน เป็นผู้น�าปกครองท้องถิ่นดูแลทุกข์สุข                 ทิศตะวันตก     ติดต่อกับเขตเทศบาลต�าบลหลักหกและเขตเทศบาลต�าบลบางพูน
 ของราษฎร์                            (อ�าเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี)

      จนสมัยรัฐกาลที่ ๖ จึงย้ายไปสังกัดมณฑลกรุงเก่าในการปกครองแบบมณฑลภิบาลเมืองธัญบุรีมีผู้ว่าราชการ       มีการเปลี่ยนแปลงการบริหารโดยมีประธานท�าหน้าที่บริหารท้องถิ่น โดยประธานได้รับการเลือกตั้งจาก
 เมืองเป็นหัวหน้าและมีกรมการเมือง นอกจากนั้นมีหน่วยงานที่จ�าเป็นอีก ๓ หน่วยงานหลักๆ ได้แก่ ศาล กองตระเวน    ประชาชนในพื้นที่มาเป็นตัวแทนในการบริหาร  ประธานสุขาภิบาลต�าบลประชาธิปัตย์  คือนายเดชา  กลิ่นกุสุม  ต่อมา

 ท�าหน้าที่เสมือนต�ารวจที่คอยสอดส่องดูแลความสงบเรียบร้อยและมีตะราง (ห้องขัง) ในอดีตก่อนการเปลี่ยนแปลง   เมื่อปี พ.ศ ๒๕๓๘ ได้มีการเปลี่ยนแปลงระบบการเมืองการปกครองขึ้นอีกครั้งเมื่อเทศบาลต�าบลประชาธิปัตย์ เป็น
 การปกครองตามยุคสมัยเรื่อย ๆ  จนถึงยุคปัจจุบัน  ในส่วนของการปกครองของเมืองธัญญบูรี  มีหน่วยงานราชการ   องค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น  ส�าหรับเมืองขนาดเล็ก  โดยทั่วไปเทศบาลต�าบลมีฐานะเดิมเป็นสุขาภิบาลหรือ

 หน่วยงานส่วนกลางที่เกี่ยวข้องคือ กระทรวงนครบาล ซึ่งเป็นเจ้าสังกัดโดยตรงของผู้ว่าราชการเมือง และผู้ว่าราชการจะ  องค์กรบริหารส่วนต�าบล (อบต.) การจัดตั้งเทศบาลต�าบลกระท�าโดยประกาศกระทรวงมหาดไทย ยกฐานะท้องถิ่นขึ้น
 ต้องรายงานข้อราชการด้วย ส�าหรับการปกครองระดับท้องถิ่น จะมีนายอ�าเภอเป็นหัวหน้าแต่ละอ�าเภอ และมีก�านันดูแล  เป็นเทศบาลต�าบล ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ เทศบาลมีนายกเทศมนตรี ท�าหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหาร

 แต่ละต�าบลโดยแบ่งเขตการดูแล ๒ คลอง เป็น ๑ ต�าบล กรมการอ�าเภอเป็นผู้ดูแลให้ราษฎรเลือกก�านัน และผู้ใหญ่บ้าน   และสภาเทศบาล ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจ�านวน ๑๒ คน ที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้ง มีนายกเทศมนตรีในสมัยนั้น
 ของตนเอง  (พิบูลย์  หัตถกิจโกศล.  ๒๕๕๖  :  ๖๕-๖๖)  พื้นที่ส่วนใหญ่ของเมืองรังสิตสมัยอดีตเป็นที่นา  ประชาชน   จ�านวน ๔ คน ๖ สมัย ตามล�าดับดังนี้ คือ

 ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรมจึงมีการบริหารจัดการการเช่าที่นาในการท�ามาหากิน มีนายกองบะ รุ่งเรือง เป็นชาวจีนได้
 เข้ามารับหน้าที่บริหารการจัดเก็บระบบการเช่าที่นาในท้องที่ในสมัยนั้นให้กับพระวรวงค์เธอพระองค์เจ้าสาย สนิทวงศ์
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158