Page 157 - curriculum-rangsit
P. 157
154 กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น 155
“นครรังสิต“
๑๘. การก�าจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน�้าเสีย สาระที่ ๒ บุคคลส�าคัญด้านศิลปวัฒนธรรม
๑๙. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล l อาจารย์วีรวัฒน์ วงศ์ศุปไทย
๒๐. การจัดให้มีและควบคุมสุสาน และฌาปนสถาน l อาจารย์พงศ์สุข นันทพัฒน์ปรีชา
๒๑. การควบคุมการเลี้ยงสัตว์
๒๒. การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์ สาระที่ ๓ บุคคลส�าคัญด้านการเมืองการปกครอง
๒๓. การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัย โรงมหรสพและสาธารณสถานอื่นๆ l นายผึ่ง บัวเผื่อนหอม ก�านันคนแรกของต�าบลบึงทะเลสาบ
๒๔. การจัดการ การบ�ารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๒๕. การผังเมือง นายกเทศมนตรีมีจ�านวน ๔ คน ๖ สมัย ตามล�าดับดังนี้ คือ
๒๖. การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร สมัยที่ คือ ๑ นายเดชา กลิ่นกุสุม (๘ มี.ค ๒๕๓๘ - ๑๙ พ.ย ๒๕๔๓)
๒๗. การดูแลรักษาที่สาธารณะ สมัยที่ คือ ๒ นายเฉลิม ปั้นงาม (๒๑ พ.ย ๒๕๔๓ - ๑ พ.ค ๒๕๔๔)
๒๘. การควบคุมอาหาร สมัยที่ คือ ๓ นายเยี่ยม เทพธัญญะ (๒ พ.ค ๒๕๔๔ - ๑๒ ก.ย ๒๕๔๔)
๒๙. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สมัยที่ คือ ๔ นายเหมืองทอง กลิ่นกุสุม (๑๔ ก.ย ๒๕๔๔ - ๓๐ ก.ค ๒๕๔๕)
๓๐. การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิต สมัยที่ คือ ๕ นายเดชา กลิ่นกุสุม (๑ ส.ค ๒๕๔๕ - ๑ พ.ค ๒๕๔๖)
และทรัพย์สิน สมัยที่ คือ ๖ นายเดชา กลิ่นกุสุม (๑๕ มิ.ย ๒๕๔๖ - ๒ เม.ย ๒๕๕๔)
๓๑. กิจการอื่นที่เป็นประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศก�าหนด l นายธีรวุฒิ กลิ่นกุสุม นายกเทศมนตรีนครรังสิต
l พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร
สาระที่ ๔ การจัดการศึกษาในนครรังสิต
สาระที่ ๔ บุคคลส�าคัญด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น
การจัดการศึกษาในเทศบาลนครรังสิตด�าเนินการโดยกองการศึกษาเทศบาลนครรังสิต โดยมีวิสัยทัศน์ใน
การจัดการศึกษาว่า “การจัดการศึกษาทุกระบบเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและศักยภาพของคนในท้องถิ่นให้มีลักษณะ l โกฮับ (นายโกฮับ แซ่ห่าน)
ที่สามารถบูรณาการวิถีชีวิตให้อยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์และมีความสุขยิ่งขึ้นสอดคล้องกับสภาพความต้องการ
ของท้องถิ่นและประเทศชาติ” โดยมีโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครรังสิต เป็นโรงเรียนการศึกษาขึ้นพื้นฐาน ๗ โรงเรียน ๕. ด้านศิลปวัฒนธรรม หมายถึง แบบแผน การสืบทอด การถ่ายทอด ความเชื่อ หรือ วิถีการด�าเนินชีวิต
และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๕ ศูนย์ ของประชาชนในชุมชนท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งที่ปฏิบัติสืบทอดต่อกันมา เรื่องราวเหล่านี้จะท�าให้สมาชิกของชุมชนยึดโยง
กลมเกลียวเป็นเอกภาพ ก่อเกิดความสงบ สันติ และร่วมพัฒนาชุมชนให้เจริญ ประกอบด้วยสาระย่อย ๕ สาระ ดังนี้
๔. ด้านบุคคลส�าคัญ หมายถึง บุคคลที่ถือก�าเนิดในท้องถิ่นแล้วไปสร้างสรรค์ความเจริญรุ่งเรืองให้แก่
ประเทศชาติในด้านต่าง ๆ หรืออาจเป็นบุคคลที่ถือก�าเนิดจากท้องถิ่นอื่น แล้วมาสร้างสรรค์ความเจริญรุ่งเรืองให้กับ สาระที่ ๑ ชาติพันธ์ชาวรังสิต
ท้องถิ่นที่สถานศึกษาตั้งอยู่ บุคคลส�าคัญเหล่านี้ ทั้งที่เสียชีวิตไปแล้วหรือยังมีชีวิตอยู่ถือเป็นตัวอย่าง ให้อนุชนรุ่นหลังได้ ส่วนหนึ่งเป็นชาวไทยที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่สามโคกซึ่งประกอบอาชีพด้านการเกษตร และมีชาติพันธ์อื่นอพยพ
ด�าเนินรอยตาม และได้มีโอกาสร่วมแสดงความกตัญญูต่อท่าน ประกอบด้วยสาระย่อย ๔ สาระดังนี้ เข้ามาตั้งถิ่นฐาน ชาวเมืองรังสิตส่วนหนึ่งเป็นชาวมุสลิมซึ่งอพยพย้ายถิ่นฐานมาจากจังหวัดปัตตานี เข้ามาอยู่ในต�าบล
สวนพริก อ�าเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี นอกจากนี้ยังมีชาวจีนกวางตุ้ง จีนไหหล�า จีนฮกเกี้ยน และจีนแคะ ที่อพยพมา
สาระที่ ๑ บุคคลส�าคัญด้านศาสนา จากประเทศจีน แล้วย้ายถิ่นฐานจากจังหวัดราชบุรี นครปฐม มาตั้งถิ่นฐานในจังหวัดปทุมธานี
l สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สาระที่ ๒ ศิลปกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม
l หลวงปู่เทียน
l พระเทพรัตนสุธีเจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี มหานิกาย งานศิลปกรรมที่ปรากฏอยู่ในเมืองรังสิตล้วนท�าขึ้นเกี่ยวเนื่องกับศาสนาและความเชื่อพบทั้งงานจิตรกรรม
l พระราชวรเมธีจารย์เจ้าคณะ จังหวัดปทุมธานี ธรรมยุต ประติมากรรม ส่วนใหญ่เป็นสิ่งก่อสร้างที่แสดงเอกลักษณ์ แบบไทยและเกี่ยวเนื่องกับศาสนาต่างๆ พบอาคารประเภท
โบสถ์ วิหาร ศาลเจ้า และอาคารไทยรูปแบบต่างๆ ถูกสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีคุณค่าทั้งทางด้าน
ประวัติศาสตร์ ความงาม ความเชื่อ