Page 159 - curriculum-rangsit
P. 159

156                                                                                กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น   157
                                                                                          “นครรังสิต“





 สาระที่ ๓   โบราณสถาน โบราณวัตถุ       ๖. ด้านแหล่งท่องเที่ยว หมายถึง สถานที่ที่ให้คนไปพักผ่อนหย่อนใจ ประกอบด้วยสาระย่อย ๔ สาระ


      โบราณสถาน ชุมชนโบราณ พิพิธภัณฑ์ วัด  ศาสนาสถาน และสิ่งก่อสร้างที่มีคุณค่าทางศิลปะ และสถาปัตยกรรม    ดังนี้
 ด้านชุมชนโบราณ คือโบราณที่เป็นตลาดริมน�้าเก่า ได้แก่ ปากคลองหนึ่ง ด้าน            ศาสนสถาน ได้แก่ วัดแสงสรรค์มีพระอุโบสถ
 ที่ใหญ่ที่สุดในเมืองรังสิต และวัดจันทรสุข เป็นวัดที่เน้นในเรื่องของการวิปัสสนา ศาลเจ้าพ่อเสือเมืองใหญ่รังสิต   สาระที่ ๑   แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์

 ศาลเจ้าพ่อเห่งเจีย ศาลเจ้าไต่ฮงกง ศาลเจ้าพ่อแม่คลองรังสิต ศาลเจ้าพ่อแม่ศูนย์การค้ารังสิต ศาลหลักเมืองรังสิต ซึ่งเป็น        แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ (โบราณสถาน ชุมชนโบราณ พิพิธภัณฑ์ วัด ศาสนสถาน และสิ่งก่อสร้าง

 ศูนย์รวมใจของกลุ่มชาวจีน  ที่มีคุณค่าทางศิลปะและสถาปัตยกรรม)  ในนครรังสิตมีแหล่งท่องเที่ยวที่ผู้คนสามารถไปท่องเที่ยวได้หลากหลายตลอด

 สาระที่ ๔   ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม  ทั้งปีตามสภาพอากาศที่เอื้ออ�านวยในแต่ละฤดูกาล ทั้งการเที่ยวในร่มและกลางแจ้ง ดังนี้


      ชาวนครรังสิตมีวัฒนธรรม ประเพณีที่เกี่ยวโยงกับชาติพันธุ์ เช่น กลุ่มคนไทย มอญ  คนญวน คนจีน คนมุสลิม       ๑.๑ ชุมชนโบราณ คือบริเวณที่เป็นตลาดริมน�้าเก่า ได้แก่ ปากคลองหนึ่ง เป็นพื้นที่  ที่น่าสนใจ เนื่องจากยัง
 เป็นต้น ซึ่งล้วนมีวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อของตนเอง วัฒนธรรมที่เกี่ยวโยงกับอาชีพ เช่น การท�านา ต่อเรือ   คงมีสภาพของวิถีชุมชนและมีสภาพของความเป็นสิ่งเก่าให้เห็น หากมีการปรับปรุงให้เกิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวทาง

 การค้าขายข้าว ขายเรือ ปลูกอ้อย เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับสายน�้า เช่น อาชีพค้าขายเครื่องปั้นดินเผา   วัฒนธรรมและน�าเสนอเรื่องราวในอดีตของพื้นที่จะสามารถสร้างความสนใจจากนักท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี
 ผักผลไม้  และก๋วยเตี๋ยวเรือ  ส่วนประเพณีที่เกี่ยวกับความเชื่อทางศาสนา  ประเพณีไหว้เจ้า  ถือศีลกินเจ  ประเพณี       ๑.๒ ศาสนสถาน ได้แก่ วัด ประกอบไปด้วย วัดแสงสรรค์ เป็นวัดที่มีพระอุโบสถใหญ่ที่สุดในจังหวัด และ

 การร�าพัด  ประเพณีงานบุญมหากุศลทิ้งกระจาด  ประเพณีแรกนา  ประเพณีท�าขวัญข้าว  ประเพณีลงแขกด�านา  และ   มีการตกแต่งได้อย่างสวยงาม  วัดคลองหนึ่ง  ตั้งอยู่บริเวณซอยรังสิต-นครนายก ๔ ต�าบลประชาธิปัตย์ อ�าเภอธัญบุรี
 ประเพณีแห่นางแมวขอฝน นอกจากนี้ยังมีประเพณีเกี่ยวกับ วิถีชีวิต เช่น การแข่งเรือพายประเพณี และประเพณี   จังหวัดปทุมธานี เป็นวัดราษฏร์ที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนัก และเป็นศูนย์รวมในการปฎิบัติศาสนกิจของชุมชน และ

 ลอยกระทง เป็นต้น  วัดจันทรสุข  เป็นวัดที่เน้นในเรื่องของการเป็นสถานที่วิปัสสนาจึงท�าให้กลายเป็นสถานที่ผู้คนเข้าไปพักผ่อนสงบจิตใจได้
            นอกจากนี้ยังมีศาสนสถานประเภทศาลเจ้า เช่น ศาลเจ้าพ่อเสือเมืองใหม่รังสิต ศาลเจ้าพ่อเห่งเจีย (ไต้เซี่ยหุกโจ้ว)
 สาระที่ ๕   ภูมิปัญญาท้องถิ่น
            ศาลเจ้าไต่ฮงกง  ศาลเจ้าพ่อเจ้าแม่คลองรังสิต  ศาลเจ้าพ่อเจ้าแม่ศูนย์การค้าตลาดรังสิต  ศาลหลักเมืองรังสิต เป็นสถานที่
      ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่โดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์ของเมืองรังสิต คือ ร�าผีมอญ ซึ่งเป็นพิธีกรรมที่กระท�าเป็นประจ�า  ส�าหรับเป็นศูนย์รวมของกลุ่มชาวจีน เมื่อมีเทศกาลไหว้เจ้าจะเห็นความคึกคัก และกลายเป็นวัฒนธรรมที่น่าสนใจ
 ทุกปี  เป็นการไหว้ผีบรรพบุรุษ  ด้วยเหตุผลที่ว่าเป็นการร�าเพื่อการแก้บน  หรือการขอขมาการกระท�าผิดต่อผี  เป็นต้น        ๑.๓ ศิลปะและสถาปัตยกรรม ในนครรังสิตได้ก�าหนดเส้นทางบริเวณริมเขื่อน หน้าตลาดรังสิต ซึ่งเป็นชุมชน

 การท�าขวัญข้าวเพื่อเป็นการเซ่นสรวงแม่โพสพของชาวนา  ด้วยมีความเชื่อว่าท�าให้ผลผลิตงอกงามสมบูรณ์  นอกจากนี้  เก่าแก่  มีการสัญจรไปมาของผู้คนได้สะดวก และมีพื้นที่เหมาะในการเป็นจุดติดตั้งประติมากรรม เพื่อสื่อถึงประวัติศาสตร์
 ยังมีภูมิปัญญาเกี่ยวกับชีวิตในเรื่องอาหารการกิน การปรุงก๋วยเตี๋ยวเรือ และน�้าพริก
            และบอกเล่าเรื่องราวที่ส�าคัญของเมืองรังสิตให้อนุชนรุ่นหลังได้ทราบข้อมูล  ความเป็นมา  และเพื่อเป็นการส่งเสริม

 สาระที่ ๖   นาฏศิลป์  การท่องเที่ยวของเทศบาลนครรังสิตในรูปแบบของงานศิลปะ  ประติมากรรม  ๓  ชิ้นงาน  คือ  ประติมากรรมสมัน
            ประติมากรรมแรงงานขุดคลอง (กุฎีจีน) และประติมากรรม โกฮับ ซึ่งเป็นการปั้นที่สวยงาม มีคุณค่าทางศิลปะ
      นาฏศิลป์เป็นศิลปะที่โดดเด่นเกี่ยวโยงกับชาติพันธ์ของชาวไทยเชื้อสายมอญที่ตั้ง      ถิ่นฐานอยู่หลายพื้นที่

 เช่น งิ้ว ร�ามอญ เพลงโนเน ล�าพาข้าวสาร ร�าโทน เป็นต้น ซึ่งศิลปะดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของชาวไทยเมือง   และประวัติศาสตร์อย่างยิ่งในการสร้างประติมากรรม  “โกฮับ”  ไว้บริเวณริมคลองเขื่อนหน้าโรงเรียนประชาธิปัตย์
 นครรังสิต เช่นการแสดงงิ้วประจ�าศาลเจ้าต่างๆของชาวจีน ร�ามอญเป็นการแสดงของชาวมอญในประเพณีต่างๆ   เพื่อจะสื่อความเป็นเอกลักษณ์ต�านานก๋วยเตี๋ยวเรือรังสิตที่ ขึ้นชื่อและโด่งดังของปทุมธานี ย้อนไปเมื่อกว่า ๖๐ กว่าปีที่แล้ว

 ทั้งงานมงคล และงานอวมงคล ซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะที่สืบสานกันมา การละเล่นล�าพาข้าวสารเป็นการละเล่นพื้นเมืองของ   โกฮับได้แต่งงานอยู่กินกับคนไทย โดยเริ่มขายก๋วยเตี๋ยวเนื้อทางเรือส�าปั้นหัวตัดเป็นเจ้าแรกและขายอยู่ในคลองรังสิต
 ชาวรังสิต  ที่มีบ้านเรือนอยู่ริมแม่น�้าล�าคลอง  เมื่อถึงเทศกาลท�าบุญออกพรรษา  หรือทอดกฐิน  ผ้าป่า  ชาวบ้านก็จะ   เริ่มขายก๋วยเตี๋ยวเรือเมื่ออายุได้ ๓๐ ปี ในราวปี พ.ศ. ๒๔๕๗ โดยใช้เรือส�าปั้นหัวตัดพายไปตามคลองรังสิต

 เรี่ยรายข้าวสาร เงิน จากผู้มีจิตศรัทธา โดยร้องล�าพาข้าวสาร เชิญชวนให้ร่วมกันท�าบุญ เพลงโนเนเป็นการละเล่นในงานบุญ    และคลองซอยต่างๆ  โกฮับก็จะพายเรือมาจอดขายบริเวณปากคลองสว่าน  หรือที่ชาวบ้านนิยมเรียกกันติดปากว่า
 งานแต่งงาน งานบวช ประกอบการโขลกขนมจีน  สะพานแก้วในปัจจุบัน ก๋วยเตี๋ยวเรือโกฮับขายดีมาก ประกอบกับเวลานั้นมีการถ่ายท�าภาพยนตร์เลือดนอกอก ซึ่งในฉาก
            มีดาราตลกดัง  คือ  ล้อต๊อก  รับบทเป็นโกฮับ  แสดงเป็นคนขายก๋วยเตี๋ยวเรือ  โดยในบทภาพยนต์ค�าพูดตะโกนว่า
            “โกฮับไล้เลี้ยว” จนภาพยนตร์ ออกฉาย จึงท�าให้ค�าพูด “ก๋วยเตี๋ยวเรือโกฮับ” นี้ฮิตติดปากชาวบ้านทั่วไป (เทศบาล

            นครรังสิต, ๒๕๕๘ : ออนไลน์) ในปัจจุบันเทศบาลนครรังสิตได้จัดพื้นที่แสดงประติมากรรมไว้อย่างสวยงาม มีการจัดวาง
            เครื่องเล่นส�าหรับออกก�าลังกายต่างๆ เรียงรายตลอดแนวคลองด้วย จึงท�าให้เพลิดเพลินกับการเล่นเครื่องออกก�าลังกาย

            การชื่นชมธรรมชาติริมคลองและความสวยงามของประติมากรรมดังกล่าวด้วย
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164