Page 163 - curriculum-rangsit
P. 163

160                                                                                กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น   161
                                                                                          “นครรังสิต“





 ตั้งเรียงรายคู่ขนานไปกับลักษณะล�าคลองที่ทอดยาวเป็นเส้นตรงเคียงคู่ไปกับถนนสายรังสิต–นครนายก (ทางหลวง  สาระที่ ๔   อาชีพอิสระ

 หมายเลข ๓๐๕)  ซึ่งเป็นภาพภูมิทัศน์ที่มีบรรยากาศของร้านก๋วยเตี๋ยวเรือเรียงรายตลอดล�าคลอง  สะดวกต่อการแวะ
 ชมชิมของนักท่องเที่ยวและผู้คนทั่วไปที่ชื่นชอบการบริโภคก๋วยเตี๋ยว และด้วยรสชาติที่อร่อยจึงท�าให้ก๋วยเตี๋ยวเรือรังสิต        การเปลี่ยนแปลงทางสังคม  วัฒนธรรม  สภาพแวดล้อม  และเทคโนโลยี  ชาวไทยที่เข้ามาอาศัยอยู่ในชุมชน

 มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วจนกระทั่งถึงทุกวันนี้  นอกจากนี้ในนครรังสิตยังมีร้านอาหารที่มีชื่อเสียงอีกหลายร้านที่เป็น   เมืองรังสิตท�าการเกษตรกรรมน้อยลง  จึงท�าให้ผู้คนที่เข้ามาอยู่อาศัยเดิม  และผู้ที่อพยพเข้ามาอยู่อาศัยใหม่ท�าการ
 ร้านดั้งเดิมที่ได้รับความนิยมมาตั้งแต่อดีต และในปัจจุบันก็ยังคงได้รับความนิยมมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งบางร้านยังคงเห็น   ค้าขาย มีอาชีพใหม่เพิ่มขึ้นอีกมากมาย เช่น ท�างานราชการ ท�างานบริษัท โรงงาน ธุรกิจด้านค้าขาย อุตสาหกรรม และ

 ร่องรอยของความเก่าแก่จากสภาพของร้านและภาพถ่ายเก่าในอดีตให้เห็นอยู่บ้าง โดยร้านต่างๆ เหล่านี้มักแสดงให้เห็น   พาณิชยกรรม นอกจากนี้ก็ประกอบอาชีพอื่น ๆ ได้แก่ อุตสาหกรรมบริการ รับราชการ รัฐวิสาหกิจ การเมือง แพทย์
 ความอร่อยของอาหารจากการที่มีบุคคลที่มีชื่อเสียงของประเทศเข้ามารับประทานอาหารภายในร้าน และเป็นความภูมิใจ   ทนายความ และอีกหลายสาขาอาชีพ ตลอดจนผู้ใช้ฝีมือแรงงานมากขึ้น

 ของเจ้าของร้านด้วย ซึ่งร้านอาหารต่างๆ เหล่านี้กระจายตัวกันอยู่ในย่านความเจริญที่เป็นศูนย์กลางของนครรังสิต

                     จากสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นสามารถน�าไปเป็นแนวทางจัดท�าหลักสูตรสถานศึกษาและจัดกระบวนการเรียนรู้
      ๗. ด้านอาชีพส�าคัญ หมายถึง การประกอบอาชีพที่เกิดจากกิจกรรมหรือบริการใดๆ ที่ก่อให้เกิดผลผลิต  ให้สอดคล้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังตัวอย่างตารางวิเคราะห์ความเชื่อมโยง ต่อไปนี้

 และรายได้ที่มีความสุจริต  หรือไม่ผิดศีลธรรม  สมาชิกในชุมชนอาจจะประกอบอาชีพเกษตรกรรม  ค้าขาย  รับจ้าง  ให้

 บริการ พนักงานบริษัท/ห้าง/ร้าน หรืออาชีพข้าราชการ เป็นต้น ประกอบด้วยสาระย่อย ๔ สาระ ดังนี้


 สาระที่ ๑   อาชีพด้านเกษตรกรรม              กลุ่มสาระ


      ชาวรังสิตในอดีตเดิมนั้นเป็นชาวไทย  ที่อพยพเข้ามาอาศัยโดยเข้าท�างานเกษตรกรรม  คือ  มีอาชีพเป็น  การเรียนรู้  สุขศึกษาและพละ  การงาน/เทคโนโลยี  ภาษาต่างประเทศ
 ชาวนา เข้ามาเช่าที่นา ท�านา ท�าสวนผัก ท�าสวนพริกไทย ท�าสวนในการท�ามาหากิน และได้ตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่ริมคลอง   สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น/สาระ  ภาษาไทย  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  สังคมศึกษา   ศิลปะ

 ในสมัยอดีต และใช้พาหนะคือเรือพายอยู่อาศัยมายาวนานถาวรจนถึงปัจจุบัน


 สาระที่ ๒   อาชีพด้านพาณิชยกรรม  ๑. ภูมิศาสตร์             ü  ü  ü  ü  ü  ü  ü
                ๑.๑  ภูมิศาสตร์กายภาพ
      ชาวจีนในเมืองรังสิตแห่งนี้ ก็ยังคงมีการประกอบอาชีพต่าง ๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน อาทิเช่น ร้านกาแฟ    ๑.๒  ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ

 โบราณ ร้านขายของช�า ร้านขายทอง ร้านอาหาร โรงงานน�้าปลา โรงงานขนมปัง โรงงาน ไม้ขีด โรงงานปลาทูนึ่ง ฯลฯ       ๑.๓  ภูมิสารสนเทศ
 และนอกเหนือจากค้าขายแล้วลูกหลานรุ่นใหม่ก็ยังมีการท�างานรับราชการ บริษัท เหมือนคนไทยทั่วไป  ค้าขาย  งานช่าง

 ฝีมือประเภทช่างเงิน ช่างทองในตลาดรังสิต ม้วนยาสูบ บางครอบครัวถักแห ถักยอขาย  ๒. ประวัติความเป็นมานครรังสิต    ü  ü  ü  ü  ü  ü  ü  ü
                ๒.๑ ประวัติศาสตร์นครรังสิต
 สาระที่ ๓   อาชีพด้านอุตสาหกรรม    ๒.๒ ประวัติศาสตร์ยุคก่อนบุกเบิก
                ๒.๓ ประวัติศาสตร์ยุคบุกเบิก

      การประกอบอาชีพ ในปัจจุบันเทศบาลนครรังสิตประกอบอาชีพเกษตรน้อยลงเพราะในเขตพื้นที่เทศบาล    ๒.๔ ประวัติศาสตร์ยุคแห่งการพัฒนาเกษตรกรรม
 ส่วนใหญ่ได้ถูกทดแทนโดยภาคอุตสาหกรรม กระจายตัวอยู่ในพื้นที่ต่าง ๆ เช่น โรงงานปั่นด้าย โรงงานทอผ้า โรงงาน      ๒.๕ ประวัติศาสตร์ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง

 ย้อมสี โรงงานผลิตน�้าอัดลม นมถั่วเหลือง โรงงานผลิตฝาจีบ โรงงานผลิตกระป๋อง  โรงงานผลิตกล่องกระดาษ โรงงาน  ๓.  การเมืองการปกครอง    ü  ü  ü  ü  ü  ü  ü  ü
 เฟอร์นิเจอร์ไม้แกะสลัก โรงงานผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยว โรงงานผลิตปุ๋ย ด้านพาณิชยกรรม ธุรกิจการค้าในเขตเทศบาล     ๓.๑ การเมืองการปกครองในอดีต

 ประกอบด้วย การค้าส่ง  ค้าปลีก และบริการต่าง ๆ ตลาดสดในเขตเทศบาล ประกอบด้วย ตลาดหวั่งหลี ตลาดพรพัฒน์     ๓.๒ การเมืองการปกครองในปัจจุบัน
 ตลาดสุชาติ ตลาดรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ตลาดสะพานแดง ตลาดเมืองใหม่ ศูนย์การค้าประกอบด้วยห้างฟิวเจอร์พาร์ค     ๓.๓ การบริหารราชการเทศบาลนครรังสิต
                ๓.๔ การจัดการศึกษาในนครรังสิต
 รังสิต ห้างสรรพสินค้า โรบินสัน บิ๊กซี  เป็นต้น
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168