Page 161 - curriculum-rangsit
P. 161
158 กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น 159
“นครรังสิต“
สาระที่ ๒ แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ฝีพาย แข่งเรือพายสแตนเลสหรือเรือขนส้ม เรือพายพลาสติก และการแข่งขันมวยทะเลซึ่งจะจัดในเทศกาลวันออก
พรรษา ประเพณีแข่งเรือพายชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ นอกจากจัดขึ้นเพื่ออนุรักษ์เผยแพร่
แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (ธรรมชาติที่แสดงเอกลักษณ์ท้องถิ่น เช่น การปลูกผักในคลองรังสิตของชาวบ้าน)
ได้แก่ คลอง “รังสิตประยูรศักดิ์” ซึ่งเป็นวิถีชีวิตของชุมชน โดยในอดีตชาวบ้านที่อาศัยอยู่ริมคลองได้ปลูกผักบุ้ง ประเพณีไทยให้คนทั่วไปได้รู้จักแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบท้องถิ่นด้วย โดยจัดขึ้นที่บริเวณริมเขื่อน
เพื่อเก็บไว้เป็นอาหารและส�าหรับขายยังชีพได้ ซึ่งในปัจจุบันยังมีให้เห็นอยู่บ้างตามริมคลองรังสิตแต่มักจะมีแนวกลุ่ม สะพานแดง คลองรังสิตประยูรศักดิ์ (คลอง ๑) ต�าบลประชาธิปัตย์ อ�าเภอธัญบุรี โดยในแต่ละปีมีประชาชนและผู้คนให้
ผักตบชวาเกิดขึ้นรวมอยู่ด้วย จึงท�าให้เห็นแนวผักบุ้งเหลืออยู่เป็นกลุ่ม เพียงเล็กน้อย และในบางครัวเรือนชาวบ้านได้ ความสนใจเป็นอย่างมาก
ติดตั้งยอเพื่อหาปลาด้วย จึงเป็นภาพที่มีการด�ารงชีวิตอยู่กับธรรมชาติ ได้อย่างลงตัว และจัดเป็นระบบนิเวศที่ยังคงมีให้ จากการสัมภาษณ์ ปราชญ์ชุมชน อาจารย์วีรวัฒน์ วงศ์ศุปไทย ( ๒๕๖๐ : สัมภาษณ์ ) มีประเพณีตักบาตรพระร้อย
เห็นอยู่ประปรายในวิถีชีวิตของชุมชนริมคลองรังสิต ซึ่งรูปแบบดังกล่าวจัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่น่าสนใจได้ดี ซึ่งเป็นการตักบาตรทางเรือ ช่วงหลังการออกพรรษา ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น วัดมอญตามริมฝั่งแม่น�้าเจ้าพระยา
จากการสัมภาษณ์ ปราชญ์ชุมชน อาจารย์วีรวัฒน์ วงศ์ศุปไทย ( ๒๕๖๐ : สัมภาษณ์ ) เล่าว่าบ้านเรือนในเทศบาล จะมีเอกลักษณ์และประวัติความเป็นมาน่าสนใจ เช่น เป็นวัดที่มีเจดีย์รูปทรงแปลกตา มีเสาหงส์ ธงตะขาบ เป็น
นครรังสิตในอดีตนั้นมี ลักษณะบ้านเรือนเป็นเรือนไทย มีหน้าต่างโดยรอบ หันหน้าลงน�้า เพราะใช้การสัญจรทางน�้า สัญลักษณ์ แสดงให้รู้ว่าเป็นวัดมอญ มีประเพณีร�าโนเน เป็นการร�าของหนุ่มสาวเกี้ยวพาราสีกัน
เป็นหลัก พื้นบ้านยกสูง เพราะ ป้องกันน�้าท่วม วิถีชีวิต เป็นวิถีชีวิตของเกษตรกร เรียบง่าย พึ่งพิงธรรมชาติ วัฒนธรรม สาระที่ ๔ แหล่งท่องเที่ยวเพื่อนันทนาการ
ส่วนใหญ่เป็นชนชาติมอญ มีประเพณีตั้งแต่เกิด ด�ารงอยู่ ตาย ได้แก่ ท�าบุญผีกระจาด ซึ่งเป็นการท�าบุญเด็กที่เกิดมา แหล่งท่องเที่ยวเพื่อนันทนาการ (แหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อการพักผ่อนและเสริมสร้างสุขภาพให้ความ
ที่มีอายุ ๑ เดือน เชื่อว่าจะท�าเด็กสุขภาพแข็งแรงและมีอายุยืน การตักบาตรพระร้อย ช่วงออกพรรษา มีความเชื่อว่า สนุกสนาน รื่นรมย์ บันเทิง) ในนครรังสิตมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงสันทนาการเพื่อสุขภาพ คือบริเวณเส้นทางริมเขื่อนหน้า
จะท�าให้มีสิริมงคลต่อชีวิต โลงมอญ เป็นประเพณีเกี่ยวกับความตาย มีการตกแต่งโลงศพที่มีเอกลักษณ์ กล่าวคือ เป็น ตลาดรังสิตซึ่งเป็นชุมชนเก่าแก่ และเป็นจุดติดตั้งประติมากรรมสมัน (รูปปั้นสมัน) ประติมากรรมแรงงานขุดคลอง
โลงที่มีรูปทรงสัญฐานคล้ายดอกผักบุ้ง คือด้านล่างเล็ก ส่วนบนจะผายออก ฝาโลงมีการตกแต่งด้วยยอดปราสาท โดยมี (กุฎีจีน) และประติมากรรมโกฮับ ดังที่กล่าวไว้แล้ว นอกจากนี้ยังมีห้างสรรพสินค้า คือ ศูนย์การค้าฟิวเจอร์พาร์ครังสิต
คติความเชื่อว่าผู้ล่วงลับจะไปอยู่ในปราสาทชั้นสวรรค์ ชาวมอญ บริเวณเทศบาลนครรังสิต ในยุคต้นๆ จะมีความ ศูนย์การค้าเพียวเพลส คลองสอง ห้างโฮมโปรเซนเตอร์ สาขารังสิต ห้างโลตัส สาขารังสิต ห้างบิ๊กซีซุปเปอร์เซนเตอร์
สัมพันธ์เกี่ยวข้องทางสายเลือดอาชีพโดยพื้นเดิมเป็นเกษตรกร และช่างฝีมือเครื่องปั้นโอ่ง และนอกจากนี้ประกอบอาชีพ สาขารังสิต และโรงภาพยนตร์เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ สาขารังสิต เป็นแหล่งบันเทิงที่เกิดมาพร้อมกับการเกิดห้างต่างๆ และ
ค้าขาย ต่อเรือ นอกจากนี้ยังมีแหล่งบันเทิง มีสถานบริการ ที่พักอาศัย และร้านอาหารมากมายหลายแห่ง ส่วนแหล่งบริการประชาชน
ในอดีตวิถีชีวิตริมคลองรังสิตนั้นมีความสวยงาม จากการสะท้อนวิถีชีวิตชาวบ้านริมน�้าที่มีชาวบ้านปลูกผัก ของเทศบาลนครรังสิตนั้น ทางเทศบาลได้ก่อสร้างศูนย์ฟิตเนส ที่หมู่บ้านรัตนโกสินทร์ ซอย ๑๐ สระว่ายน�้า อยู่ซอย ๘
และจับปลาหากินในชีวิตประจ�าวัน นอกจากความผูกพันกับสายน�้าริมคลองของชาวบ้านแล้วยังพบภาพธรรมชาติยาม และหอประชุมส�าหรับจัดงานต่างๆ คือ หอประชุม ๑๐๐ ปี อยู่ที่หอสมุดคลอง ๒ ถนนรังสิตนครนายก
เช้า และยามเย็นที่มีฝูงนกจ�านวนมากหลากหลายชนิดบินว่อนอยู่เหนือน�้าคลองรังสิต โดยเฉพาะการบินโฉบบนผิวน�้า
เป็นกลุ่มเพื่อจับปลากินเป็นอาหารในคลองรังสิตนั้น เป็นท่าที่สวยงามมาก โดยชาวบ้านที่นั่งเรือสัญจรไปมาได้หันไป สาระที่ ๕ แหล่งท่องเที่ยวเชิงบริโภค
มองและเผลอยิ้มกับท่าทางของนกเหล่านั้นด้วย ซึ่งเป็นภาพที่มีให้เห็นตลอดระยะทางของสายน�้าในคลองรังสิต และ แหล่งท่องเที่ยวเชิงบริโภคในนครรังสิตมีแหล่งท่องเที่ยวที่มากับการบริโภคคือ ตลาดน�้านครรังสิต ตั้งอยู่ที่
นกที่บินว่อนส่วนใหญ่เป็นนกกระยาง นกเป็ดน�้า นกกระเต็น และนกอื่น ๆ ฯลฯ โดยจะมาเป็นฝูงใหญ่เพื่อหาปลาเล็ก คลองรังสิตประยูรศักดิ์ คลองหนึ่ง ต�าบลประชาธิปัตย์ อ�าเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี เริ่มสร้างเมื่อปี ๒๕๔๙ ตาม
ในคลองเป็นอาหารตลอดทั้งปี ส่วนในปัจจุบันก็ยังมีนกเหล่านี้มาจับปลาในคลองรังสิตให้เห็นอยู่บ้าง แต่มีจ�านวนนก นโยบายของผู้บริหารที่ต้องการสร้างแหล่งท่องเที่ยวในเขตเทศบาลนครรังสิต เพื่อให้รังสิตเป็นที่รู้จักของประชาชน
ลดน้อยลงมากซึ่งอาจเป็นผลกระทบจากความเจริญและการขยายตัวทางเศรษฐกิจของนครรังสิตที่นับวันจะมี การก่อสร้าง ทั่วไปและสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น รวมทั้งยังเป็นการอนุรักษ์คลองรังสิตประยูรศักดิ์ ให้เป็น
ต่าง ๆ เพิ่มขึ้น จึงท�าให้ธรรมชาติดังกล่าวหายไป (ค�ารณ สิระธนะกุล, บรรณาธิการ, ๒๕๕๙) ตลาดน�้าแห่งแรกของคลองรังสิตประยูรศักดิ์ และมีพิพิธภัณฑ์จัดแสดงประวัติก๋วยเตี๋ยวเรือไว้ภายในแพตลาดน�้าแห่งนี้ด้วย
สาระที่ ๓ แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จนปัจจุบันกลายเป็นที่รวมอาหารหลากหลายประเภทและ ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ ก๋วยเตี๋ยวเรือรังสิต จนท�าให้เกิดเป็น
แหล่งรวมต�านานก๋วยเตี๋ยวเรืออร่อยของรังสิตขึ้น นอกจากตลาดน�้านครรังสิตแล้ว บริเวณริมฝั่งคลองรังสิตฯ ยังมี
แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (งานประเพณี วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน การแสดงศิลปวัฒนธรรม สินค้า ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือที่ขึ้นชื่อหลายร้าน ประกอบด้วย ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือป้าแจ๋ว ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือสวัสดี ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือ
พื้นเมือง) เทศบาลนครรังสิตมีการจัดงานที่เป็นประเพณีสืบเนื่องทุกปีคือ ประเพณี แข่งเรือพาย ซึ่งการแข่งขันเรือพาย ครัวนาวา ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือ ณ สุโขทัย ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือต้อยมาเลิศ ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือสมหมาย ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือลุงจาบ
เป็นประเพณีของเทศบาลนครรังสิตในอดีต โดยเกษตรกรชาวสวนส้มน�าเรือขนส้มออกมาแข่งขันในช่วงฤดูน�้าหลาก ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือนายเลิศ และยังมีร้านก๋วยเตี๋ยวเรือที่ขายอยู่บนแพตลาดน�้านครรังสิตอีก ๔ ร้าน คือร้านก๋วยเตี๋ยวเรือ
หรือในเทศกาลออกพรรษา เพื่อเป็นการสร้างความรักความสามัคคีในหมู่ชาวบ้านด้วยกัน จนเป็นที่แพร่หลายไปยังทุก รุ่งรัตน์ ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือกะลา ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือเจ้เล็ก และร้านก๋วยเตี๋ยวเรือแพสิบ ฯลฯ โดยร้านก๋วยเตี๋ยวเรือดังกล่าว
อ�าเภอและบริเวณใกล้เคียง และได้จัดแข่งขันเรือขึ้นทุกปี แบ่งเป็นประเภทเรือยาว ๓๐ ฝีพาย ๔๐ ฝีพาย และ ๕๐