Page 162 - curriculum-rangsit
P. 162
160 กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น 161
“นครรังสิต“
ตั้งเรียงรายคู่ขนานไปกับลักษณะล�าคลองที่ทอดยาวเป็นเส้นตรงเคียงคู่ไปกับถนนสายรังสิต–นครนายก (ทางหลวง สาระที่ ๔ อาชีพอิสระ
หมายเลข ๓๐๕) ซึ่งเป็นภาพภูมิทัศน์ที่มีบรรยากาศของร้านก๋วยเตี๋ยวเรือเรียงรายตลอดล�าคลอง สะดวกต่อการแวะ
ชมชิมของนักท่องเที่ยวและผู้คนทั่วไปที่ชื่นชอบการบริโภคก๋วยเตี๋ยว และด้วยรสชาติที่อร่อยจึงท�าให้ก๋วยเตี๋ยวเรือรังสิต การเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และเทคโนโลยี ชาวไทยที่เข้ามาอาศัยอยู่ในชุมชน
มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วจนกระทั่งถึงทุกวันนี้ นอกจากนี้ในนครรังสิตยังมีร้านอาหารที่มีชื่อเสียงอีกหลายร้านที่เป็น เมืองรังสิตท�าการเกษตรกรรมน้อยลง จึงท�าให้ผู้คนที่เข้ามาอยู่อาศัยเดิม และผู้ที่อพยพเข้ามาอยู่อาศัยใหม่ท�าการ
ร้านดั้งเดิมที่ได้รับความนิยมมาตั้งแต่อดีต และในปัจจุบันก็ยังคงได้รับความนิยมมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งบางร้านยังคงเห็น ค้าขาย มีอาชีพใหม่เพิ่มขึ้นอีกมากมาย เช่น ท�างานราชการ ท�างานบริษัท โรงงาน ธุรกิจด้านค้าขาย อุตสาหกรรม และ
ร่องรอยของความเก่าแก่จากสภาพของร้านและภาพถ่ายเก่าในอดีตให้เห็นอยู่บ้าง โดยร้านต่างๆ เหล่านี้มักแสดงให้เห็น พาณิชยกรรม นอกจากนี้ก็ประกอบอาชีพอื่น ๆ ได้แก่ อุตสาหกรรมบริการ รับราชการ รัฐวิสาหกิจ การเมือง แพทย์
ความอร่อยของอาหารจากการที่มีบุคคลที่มีชื่อเสียงของประเทศเข้ามารับประทานอาหารภายในร้าน และเป็นความภูมิใจ ทนายความ และอีกหลายสาขาอาชีพ ตลอดจนผู้ใช้ฝีมือแรงงานมากขึ้น
ของเจ้าของร้านด้วย ซึ่งร้านอาหารต่างๆ เหล่านี้กระจายตัวกันอยู่ในย่านความเจริญที่เป็นศูนย์กลางของนครรังสิต
จากสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นสามารถน�าไปเป็นแนวทางจัดท�าหลักสูตรสถานศึกษาและจัดกระบวนการเรียนรู้
๗. ด้านอาชีพส�าคัญ หมายถึง การประกอบอาชีพที่เกิดจากกิจกรรมหรือบริการใดๆ ที่ก่อให้เกิดผลผลิต ให้สอดคล้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังตัวอย่างตารางวิเคราะห์ความเชื่อมโยง ต่อไปนี้
และรายได้ที่มีความสุจริต หรือไม่ผิดศีลธรรม สมาชิกในชุมชนอาจจะประกอบอาชีพเกษตรกรรม ค้าขาย รับจ้าง ให้
บริการ พนักงานบริษัท/ห้าง/ร้าน หรืออาชีพข้าราชการ เป็นต้น ประกอบด้วยสาระย่อย ๔ สาระ ดังนี้
สาระที่ ๑ อาชีพด้านเกษตรกรรม กลุ่มสาระ
ชาวรังสิตในอดีตเดิมนั้นเป็นชาวไทย ที่อพยพเข้ามาอาศัยโดยเข้าท�างานเกษตรกรรม คือ มีอาชีพเป็น การเรียนรู้ สุขศึกษาและพละ การงาน/เทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ
ชาวนา เข้ามาเช่าที่นา ท�านา ท�าสวนผัก ท�าสวนพริกไทย ท�าสวนในการท�ามาหากิน และได้ตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่ริมคลอง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น/สาระ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศิลปะ
ในสมัยอดีต และใช้พาหนะคือเรือพายอยู่อาศัยมายาวนานถาวรจนถึงปัจจุบัน
สาระที่ ๒ อาชีพด้านพาณิชยกรรม ๑. ภูมิศาสตร์ ü ü ü ü ü ü ü
๑.๑ ภูมิศาสตร์กายภาพ
ชาวจีนในเมืองรังสิตแห่งนี้ ก็ยังคงมีการประกอบอาชีพต่าง ๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน อาทิเช่น ร้านกาแฟ ๑.๒ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ
โบราณ ร้านขายของช�า ร้านขายทอง ร้านอาหาร โรงงานน�้าปลา โรงงานขนมปัง โรงงาน ไม้ขีด โรงงานปลาทูนึ่ง ฯลฯ ๑.๓ ภูมิสารสนเทศ
และนอกเหนือจากค้าขายแล้วลูกหลานรุ่นใหม่ก็ยังมีการท�างานรับราชการ บริษัท เหมือนคนไทยทั่วไป ค้าขาย งานช่าง
ฝีมือประเภทช่างเงิน ช่างทองในตลาดรังสิต ม้วนยาสูบ บางครอบครัวถักแห ถักยอขาย ๒. ประวัติความเป็นมานครรังสิต ü ü ü ü ü ü ü ü
๒.๑ ประวัติศาสตร์นครรังสิต
สาระที่ ๓ อาชีพด้านอุตสาหกรรม ๒.๒ ประวัติศาสตร์ยุคก่อนบุกเบิก
๒.๓ ประวัติศาสตร์ยุคบุกเบิก
การประกอบอาชีพ ในปัจจุบันเทศบาลนครรังสิตประกอบอาชีพเกษตรน้อยลงเพราะในเขตพื้นที่เทศบาล ๒.๔ ประวัติศาสตร์ยุคแห่งการพัฒนาเกษตรกรรม
ส่วนใหญ่ได้ถูกทดแทนโดยภาคอุตสาหกรรม กระจายตัวอยู่ในพื้นที่ต่าง ๆ เช่น โรงงานปั่นด้าย โรงงานทอผ้า โรงงาน ๒.๕ ประวัติศาสตร์ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
ย้อมสี โรงงานผลิตน�้าอัดลม นมถั่วเหลือง โรงงานผลิตฝาจีบ โรงงานผลิตกระป๋อง โรงงานผลิตกล่องกระดาษ โรงงาน ๓. การเมืองการปกครอง ü ü ü ü ü ü ü ü
เฟอร์นิเจอร์ไม้แกะสลัก โรงงานผลิตเส้นก๋วยเตี๋ยว โรงงานผลิตปุ๋ย ด้านพาณิชยกรรม ธุรกิจการค้าในเขตเทศบาล ๓.๑ การเมืองการปกครองในอดีต
ประกอบด้วย การค้าส่ง ค้าปลีก และบริการต่าง ๆ ตลาดสดในเขตเทศบาล ประกอบด้วย ตลาดหวั่งหลี ตลาดพรพัฒน์ ๓.๒ การเมืองการปกครองในปัจจุบัน
ตลาดสุชาติ ตลาดรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ตลาดสะพานแดง ตลาดเมืองใหม่ ศูนย์การค้าประกอบด้วยห้างฟิวเจอร์พาร์ค ๓.๓ การบริหารราชการเทศบาลนครรังสิต
๓.๔ การจัดการศึกษาในนครรังสิต
รังสิต ห้างสรรพสินค้า โรบินสัน บิ๊กซี เป็นต้น