Page 78 - curriculum-rangsit
P. 78
76 กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น 77
“นครรังสิต“
๒. สาระการเรียนรู้ท้องถิ่นตามตัวชี้วัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
ป.๖ ว ๖.๑ ป.๖ /๓ สืบค้นและอธิบาย • มนุษย์ควรเรียนรู้และปฏิบัติตนให้ • การเรียนรู้และการปฏิบัติตนให้
ธรณีพิบัติภัยที่มีผลต่อมนุษย์และ ปลอดภัยจากธรณีพิบัติภัยที่ ปลอดภัยจากธรณีพิบัติภัย สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการด�ารงชีวิต
สภาพแวดล้อมในท้อง อาจเกิดขึ้นในท้องถิ่น ได้แก่ ที่อาจเกิดขึ้นในท้องถิ่น เช่น ๑. การด�ารงชีวิตของชุมชนและสิ่งมีชีวิตบริเวณนครรังสิต ประตูน�้า คลองรังสิตประยูรศักดิ์ ตั้งแต่ยุคก่อน
น�้าป่าไหลหลาก น�้าท่วม น�้าป่าไหลหลาก น�้าท่วม
แผ่นดินถล่ม แผ่นดินไหว สึนามิ บริเวณนครรังสิต ยุคบุกเบิก ยุคห่างการพัฒนาเกษตรกรรม และยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง เรื่องราว เหตุการณ์ส�าคัญของของนครรังสิต
และอื่นๆ ส่งผลต่อกระบวนการการด�ารงชีวิต เหตุการณ์มหาอุทกภัยปี ๒๕๕๔ ของเทศบาลนครรังสิต ที่เกิดน�้าท่วมหนักเป็น
ระยะเวลานาน เป็นพื้นที่หนึ่งที่เกิดน�้าท่วมหนักในรอบ ๗๐ ปี
ม.๑ - - -
๒. ที่ตั้งบริเวณริมสองฝั่งคลองรังสิตประยูรศักดิ์ ชุมชนมีการด�ารงชีวิตที่เปลี่ยนแปลงจากอดีตถึงปัจจุบัน ในอดีต
ม.๒ ว ๖.๑ ม.๒ /๗ ส�ารวจและอธิบาย • แหล่งน�้าบนโลก มีทั้งน�้าจืด น�้าเค็ม • แหล่งน�้าในพื้นที่ อาทิ น�้าเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์นานาชนิด เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา ฯลฯ มีการจับสัตว์น�้านานาชนิดด้วยเครื่องมือ
ลักษณะแหล่งน�้าธรรมชาติ โดยแหล่งน�้าจืดมีอยู่ทั้งบนดิน แหล่งน�้าจืด เช่น คลองรังสิต ประเภทต่าง ๆ เช่น สวิง แห อวน ยอ ลอบ ข่ายและเบ็ด เพื่อน�ามาเป็นอาหาร ในอดีตบริเวณคลองรังสิตประยูรศักดิ์
การใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์ ใต้ดิน และในบรรยากาศ น�้าบาดาล
แหล่งน�้าในท้องถิ่น • การใช้ประโยชน์ของแหล่งน�้า ต้องมี ในอดีตเป็นพื้นที่นาทั้งหมด ผู้ที่อาศัยอยู่บริเวณแถบคลองรังสิตประยูรศักดิ์ ส่วนใหญ่จะเป็นชาวไทยและชาวจีน คนจีน
การวางแผนการใช้ การอนุรักษ์ ที่เข้ามาประกอบอาชีพค้าขายจะใช้ภาษาไทยการติดต่อการค้า คลองรังสิตประยูรศักดิ์ คลอง ๑ ในคลองซอยที่ ๒
การป้องกัน การแก้ไข และ ในอดีตมีสัตว์น�้าอาศัยอยู่เป็นจ�านวนมาก หนึ่งในนั้นก็คือ นกปากห่าง ที่อพยพหนีอากาศหนาวมาอาศัยในแถบนี้
ผลกระทบ ด้วยวิธีการที่เหมาะสม ซึ่งจะเห็นภาพการด�ารงชีวิตของนกปากห่าง คลองรังสิต มีความส�าคัญต่อการเป็นอยู่ของผู้คนอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะ
ม.๓ - - - อย่างยิ่ง การขนส่งพืชผลนอกพื้นที่เข้าสู่เทศบาลนครรังสิต เพื่อการบริโภค การจ�าหน่าย เพื่อเป็นแหล่งเพาะเลี้ยงและ
จับสัตว์น�้า ในอดีตคลองรังสิตมีน�้าใสสะอาด เป็นแหล่งเพาะเลี้ยงและจับสัตว์น�้ามาบริโภคเป็นอาหารของคนในท้องถิ่น
ม.๔-๖ ว ๖.๑ ม.๔- ม.๖ /๕ ส�ารวจ • สภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต • สภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต สัตว์น�้ามีอยู่อย่างชุกชุมในคลอง เพื่อการส่งน�้าเข้าไร่นาและการระบายน�้า การขุดคลองในอดีตมีวัตถุประสงค์ส�าคัญ
วิเคราะห์และอธิบายการล�าดับ ของโลก สามารถอธิบายได้จาก ของโลก สามารถอธิบายได้จาก อย่างยิ่ง คลองรังสิตประยูรศักดิ์ ซึ่งขุดเชื่อมแม่น�้าเจ้าพระยา กับแม่น�้านครนายกนั้นให้ประโยชน์ในด้านการชลประทาน
ชั้นหิน จากการวางตัวของชั้นหิน ร่องรอยต่างๆ ที่ปรากฏเป็น ร่องรอยต่างๆ ที่ปรากฏเป็น
ซากดึกด�าบรรพ์ และโครงสร้าง หลักฐานอยู่บนหิน หลักฐานอยู่บนหิน อย่างกว้างขวางในบริเวณทุ่งหลวง หรือที่ปัจจุบัน เรียกว่า “ทุ่งรังสิต” จนกลายเป็นแหล่งปลูกข้าวที่ส�าคัญมากแห่งหนึ่ง
ทางธรณีวิทยา เพื่ออธิบายประวัติ • ข้อมูลทางธรณีวิทยาที่ใช้อธิบาย • ประวัติความเป็นมาของพื้นที่ ในพื้นที่ใกล้กรุงเทพฯ ปัจจุบันนครรังสิต อยู่ในเขตปริมณฑลมีการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และ
ความเป็นมาของพื้นที่ ความเป็นมาของโลก ได้แก่ บริเวณนครรังสิต ได้จากการล�าดับ ภาคบริการ ทดแทนภาคเกษตรกรรม นอกจากนี้คลองรังสิตยังเป็นแหล่งวัฒนธรรมท้องถิ่นที่แสดงให้เห็นในชีวิตประจ�าวัน
ซากดึกด�าบรรพ์ ชนิดของหิน ชั้นหินตามอายุการเกิดของหินจาก ของชาวบ้าน เช่น พระภิกษุพายเรือออกบิณฑบาต ชาวบ้านรอใส่บาตรตามหัวสะพานหน้าบ้านบริเวณท่าน�้า
โครงสร้างทางธรณีวิทยา และ อายุมากขึ้นไปสู่หินที่มีอายุน้อย
การล�าดับชั้นหิน ตามมาตราธรณีกาล และกิจกรรมประเพณีของชุมชน และประเพณีการเล่นน�้าเทศกาลสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทงในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสอง
• ประวัติความเป็นมาของพื้นที่ เป็นต้น
ได้จากการล�าดับชั้นหินตามอายุ ๓. สภาพภูมิอากาศเหมือนกับจังหวัดทั่วไปในภาคกลาง แบ่งเป็น ๓ ฤดู คือ ฤดูฝน ฤดูหนาว และฤดูร้อน
การเกิดของหินจากอายุมากขึ้นไป
สู่หินที่มีอายุน้อย ตามมาตรา ฤดูฝน ระยะการเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนมาเป็นฤดูหนาว หรือจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้มาเป็นฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
ธรณีกาล จะเริ่มมีลมพัดเย็นและความกดอากาศสูงกว่าอากาศเหนือน่านน�้าอ่าวไทย เรียกลมนี้ว่า “ลมข้าวเบา” หรือ “ลมว่าว”
ฤดูร้อน จะมีลมพัดจากอ่าวไทย ขึ้นไปตามลุ่มเจ้าพระยา เรียกว่า “ลมตะเภา”