Page 80 - curriculum-rangsit
P. 80

78                                                                                                                                                                                                  กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น   79
                                                                                                                                                                                                                 “นครรังสิต“





                     ๔. ชาติพันธุ์ ลักษณะทางพันธุกรรมของชาวรังสิต ในอดีตเป็น มุสลิม แขก ชาวจีน มอญและชาวไทย ที่อพยพ
            เข้ามาอาศัยโดยเข้าท�างานเกษตรกรรม คือ มีอาชีพเป็นชาวนา เข้ามาเช่าที่นา ท�านา ท�าสวนในการท�ามาหากิน และได้                แหล่งการเรียนรู้

            ตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่ริมคลองในสมัยอดีตอาศัยมายาวนานถาวรจนถึงปัจจุบัน ด้วยการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม                         ๑. หนังสือ
            สภาพแวดล้อมและเทคโนโลยี  ชาวไทยที่เข้ามาอาศัยอยู่ในชุมชนเมืองรังสิตท�าการเกษตรกรรมน้อยลง  ลักษณะที่                                 ๑.๑  หนังสือนครรังสิตของเรา

            อยู่อาศัยก็มีการอพยพออกจากริมคลองด้วยบริบทการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ไม่ต้องใช้เรือพายเหมือนในสมัยอดีต                                ๑.๒  ๒๐๐ ปีเมืองปทุมธานี
            มีการใช้รถยนต์แทนจึงท�าให้มีชุมชนหมู่บ้านเกิดขึ้นมากมายหลายชุมชนในเขตเมืองรังสิต                                                ๒.  หนังสือพิมพ์รังสิตโพสต์
                                                                                                                                               ๓.  ศูนย์ข้อมูลรังสิต

              สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม                                                                                                     ๓.๑  http://rangsit.org/New/index.php/th/
                                                                                                                                                ๓.๒  http://rscience.go.th/science/frontend/theme/
                     ๑. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในนครรังสิต                                                                               ๓.๓  http://www.nsm.or.th/index.php

                         ๑.๑   ทรัพยากรน�้าใช้คลองที่ใสสะอาดเป็นเส้นทางคมนาคมขนส่ง มีคลองรังสิตประยูรศักดิ์เป็นแหล่งน�้า                    ๔. แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต พิพิธภัณฑ์ สื่อโฆษณา ป้ายประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
            ที่ส�าคัญ ในปัจจุบันใช้ส�าหรับรดน�้าต้นไม้ ชุมชนใช้ในการเดินทางโดยทางเรือในระยะทางสั้น ๆ และมีคลองซอยแยกย่อย

            อีกหลายแห่ง จากคลองประปาในเขตเทศบาลนครรังสิต และประชาชนบางส่วนน�ามาใช้บริโภคในชีวิตประจ�าวัน
                         ๑.๒  ทรัพยากรดิน เทศบาลนครรังสิต มีพื้นที่ ๒๐.๘๐ ตารางกิโลเมตร สภาพโดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม

            พื้นที่เหมาะแก่การเพาะปลูก หรืออาชีพด้านเกษตรกรรม ซึ่งปัจจุบันได้ลดความส�าคัญลงไปมาก ทั้งนี้ เนื่องจากเทศบาล
            มีพื้นที่ติดต่อกับกรุงเทพมหานคร  ความเจริญอย่างรวดเร็ว  ท�าให้มีการขยายตัวของธุรกิจหมู่บ้านจัดสรร  กิจการค้า

            การบริการ  พาณิชย์กรรมและธุรกิจโรงแรมเติบโตจึงแผ่ขยายเข้ามายังพื้นที่เทศบาลอย่างรวดเร็ว  ท�าให้การ  โรงงาน
            อุตสาหกรรมขยายอย่างต่อเนื่อง

                         ๑.๓  ทรัพยากรอากาศ ในอดีตนครรังสิต มีอากาศที่บริสุทธิ์ เพราะมีต้นไม้ มีทุ่งหญ้าหรือเรียกว่า
            ทุ่งรังสิต ประชากรอาศัยอยู่น้อย ปัญหาสภาพแวดล้อมด้านขยะมูลฝอย ด้านมลพิษทางอากาศและเสียง ด้านน�้าเสียใน

            อดีตไม่ปรากฏ


              สาระที่ ๓ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก



                     สมบัติทางกายภาพของน�้าในอดีตและปัจจุบันบริเวณคลองรังสิตหรือแหล่งน�้าในนครรังสิต สามารถพิจารณา
            สี กลิ่น ความโปร่งใสของน�้า อากาศในอดีตในปัจจุบันบริเวณนครรังสิต ประวัติความเป็นมาของพื้นที่บริเวณนครรังสิต
            ได้จากการล�าดับชั้นหินตามอายุการเกิดของหินจากอายุมากขึ้นไปสู่หินที่มีอายุน้อยตามมาตราธรณีกาล  คุณภาพของ

            ดินในอดีตและปัจจุบันบริเวณคลองรังสิตและพื้นที่ใกล้เคียง  ส่งผลต่อการปลูกพืชในท้องถิ่น  การเปลี่ยนแปลงของโลก

            มีผลต่อกรณีภัยพิบัติในท้องถิ่น การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัยพิบัติ
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85