Page 34 - กรอบหลักสูตรนครรังสิต
P. 34

32                                                                                 กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น   33
                                                                                          “นครรังสิต“





            ๒. สำระกำรเรียนรู้ท้องถิ่นตำมตัวชี้วัดตำมกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
   ชั้น    ตัวชี้วัด    สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง    สำระกำรเรียนรู้ท้องถิ่น


 ม.๑  ท ๕.๑ ม.๑/๒ วิเคราะห์วรรณคดี •  การวิเคราะห์คุณค่าและข้อคิดจาก  •  วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม
 และวรรณกรรมที่อ่านพร้อม   วรรณคดีและวรรณกรรม    หนังสือนครรังสิตของเรา    สำระที่ ๑ กำรอ่ำน
 ยกเหตุผลประกอบ
                     ๑. การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของค�า  ค�าคล้องจอง  และข้อความที่ประกอบด้วยค�าพื้นฐาน  คือ
 ม.๒  ท ๕.๑ ม.๒/๒ วิเคราะห์และ  •  การวิเคราะห์คุณค่าและข้อคิด  •  การวิเคราะห์คุณค่าและข้อคิดจาก   ค�าที่ใช้ในชีวิตประจ�าวัน ไม่น้อยกว่า ๕๐ ค�า รวมทั้งค�าที่ใช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ประกอบด้วย
 วิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรม และ  จากวรรณคดี วรรณกรรม และ  วรรณคดี และวรรณกรรมใน                 •  ค�าที่มีรูปวรรณยุกต์และไม่มีรูปวรรณยุกต์
 วรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่าน พร้อม  วรรณกรรมท้องถิ่น  นครรังสิตหนังสือนครรังสิตของเรา                •  ค�าที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา
 ยกเหตุผลประกอบ
                             •  ค�าที่มีพยัญชนะควบกล�้า
 ท ๕.๑ ม.๒/๓ อธิบายคุณค่าของ                •  ค�าที่มีอักษรน�า
 วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน           ๑.๑  เรื่องสั้น หนังสืออ่านประกอบ เช่น หนังสือนครรังสิตของเรา
                         ๑.๒  การอ่านสัญลักษณ์ และตัวอย่างในแผนที่เทศบาลนครรังสิต
 ม.๓  ท ๕.๑ ม.๓/๑ สรุปเนื้อหา  •  วรรณคดี วรรณกรรม และ  •  วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น
 วรรณคดี วรรณกรรม และ  วรรณกรรมท้องถิ่นเกี่ยวกับ    หนังสือนครรังสิตของเรา           ๑.๓  สรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่านหนังสือประกอบ
 วรรณกรรมท้องถิ่นในระดับ     -  ศาสนา           ๑.๔  อ่านข่าวหรือบทความเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันที่เกิดขึ้นในเทศบาลนครรังสิต
 ที่ยากยิ่งขึ้น    -  ประเพณี         ๒. การอ่านออกเสียง ประกอบด้วย

   -  พิธีกรรม                  •  บทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยาย และบทพรรณนา
   -  สุภาษิตค�าสอน                 •  บทร้อยกรอง  เช่น  กลอนสุภาพ  กลอนสักวา  กาพย์ยานี  ๑๑  กาพย์สุรางคนางค์  ๒๘
   -  เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์
   -  บันเทิงคดี  กาพย์ฉบัง ๑๖ และโคลงสี่สุภาพ เช่น วรรคทอง นิราศภูเขาทอง และบทร้อยกรองที่สนใจ
                         ๒.๑  การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ  เช่น  เรื่องเล่าจากประสบการณ์ท่องเที่ยวสถานที่ส�าคัญ
 ท ๕.๑ ม.๓/๓ สรุปความรู้และ  •  การวิเคราะห์วิถีไทย และคุณค่าจาก •  สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน    ในเทศบาลนครรังสิต บันทึกเหตุการณ์ เช่น ประวัติบุคคลส�าคัญในเทศบาลนครรังสิต ประวัตินายกเทศมนตรี นครรังสิต
 ข้อคิดจากการอ่าน เพื่อน�าไป  วรรณคดีและวรรณกรรม  เพื่อน�าไปปรับใช้ในการด�าเนินชีวิต
 ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง    หนังสือเทศบาลนครรังสิต  ส าร คดี  เช่น  สารคดีท่องเที่ยววิถีชุมชน  “คลองพระอุดม”  สารคดีเชิงประวัติ  เช่น  เรื่องขุดคลองรังสิต  ของ
            แอรวิน มูลเลอ (พระปฏิบัติราชประสงค์) ต�านานท้าวอู่ทอง หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น บทความ เช่น สมัยใหม่เมืองนครรังสิต
 ม.๔-๖ ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕ รวบรวม  •  วรรณกรรมพื้นบ้านที่แสดงถึง  •  วรรณกรรมพื้นบ้านที่เกี่ยวข้องกับ  เอกสารทางวิชาการที่มีค�า ประโยค และข้อความที่ต้องใช้บริบทช่วยพิจารณาความหมาย งานเขียนประเภทชักจูง
 วรรณกรรมพื้นบ้านและอธิบาย    -  ภาษากับวัฒนธรรม      เทศบาลนครรังสิต  โน้มน้าวใจเชิงสร้างสรรค์ เช่น ป้ายโฆษณาโน้มน้าวใจในเทศบาลนครรังสิต บทโฆษณา เช่น ป้ายโฆษณาชวนเชื่อต่างๆ
 ภูมิปัญญาทางภาษา    -  ภาษาถิ่น
            ในนครรังสิต บทเพลง เช่น เพลงมาร์ชเทศบาลนครรังสิต บทอาเศียรวาท เช่น เทิดพระเกียรติพลเอกสมเด็จพระเจ้า-
            บรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์

                         ๒.๒  การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น อ่านเรื่องสั้นนครรังสิตของเราหนังสือที่นักเรียนสนใจและ
            เหมาะสมกับวัย หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียนก�าหนดร่วมกัน
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39