Page 20 - รายงานการพัฒนาระบบราชการไทยประจำปี พ.ศ.2559
P. 20

บทสรุปสําหรับผูŒบริหาร (Executive Summary)





                  1.3  การพัฒนาองคการใหมีขีดสมรรถนะสูง ก.พ.ร. เดินหนาพัฒนาสวนราชการและหนวยงานของรัฐสูการเปน
            องคกรแหงความเปนเลิศ รวมทั้งพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากรภาครัฐใหมีความเปนมืออาชีพ โดยดําเนินการ ดังนี้

                       •  การสงเสริมและพัฒนาองคการมหาชนอยางตอเนื่อง เพื่อใหองคการมหาชนมีประสิทธิภาพในการบริหาร

            จัดการตามหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี โดยการเสริมสรางความเขมแข็งใหกับกลไกการบริหารองคการมหาชน
            นอกจากนี้ยังไดปรับปรุงพระราชบัญญัติองคการมหาชน พ.ศ. 2542 เพื่อใหการบริหารงานและการปฏิบัติภารกิจของ

            องคการมหาชนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น

                       •  การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยการตรวจรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
            ระดับพื้นฐานใหกับสวนราชการระดับกรมและจังหวัด  โดยมีหนวยงานที่ผานการตรวจรับรองคุณภาพการบริหารจัดการ

            ภาครัฐระดับพื้นฐาน ฉบับที่ 1 และ ฉบับที่ 2 รวมทั้งสิ้น 25 หนวยงาน และการมอบรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการ
            ภาครัฐ โดยในป พ.ศ. 2559 มีหนวยงานที่ไดรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ จํานวน 18 หนวยงาน

                       •    การพัฒนาเสริมสรางขีดสมรรถนะผูนําการบริหารการเปลี่ยนแปลง  ไดแก  การพัฒนานักบริหาร

            การเปลี่ยนแปลงรุนใหม (นปร.) เพื่อสรรหาและคัดเลือกบุคคลที่มีความรูความสามารถและสมรรถนะสูงเขาสูระบบ
            ราชการและพัฒนาใหเปนผูนําการเปลี่ยนแปลงที่มีสมรรถนะครบครัน ดําเนินการมาแลว 10 รุน โดยปจจุบัน นปร. รุนที่ 1 - 8
            ไดสําเร็จจากโครงการฯ  และกําลังปฏิบัติราชการอยูในสวนราชการที่มีความสําคัญเชิงยุทธศาสตร  จํานวน  281  คน

            สําหรับ นปร. รุนที่ 9 และ รุนที่ 10 อยูระหวางการพัฒนาตามหลักสูตรในโครงการฯ จํานวน 67 คน นอกจากนี้ยัง
            ดําเนินการเสริมสรางและพัฒนาขีดสมรรถนะเครือขายการพัฒนาระบบราชการ ซึ่งไดแก กลุมพัฒนาระบบบริหารของ

            สวนราชการตาง ๆ โดยการจัดประชุมสัมมนาในหัวขอตาง ๆ รวมทั้งการจัดทําหลักสูตรการเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพ
            ที่ปรึกษาดานการบริหารสําหรับหนวยงานภาครัฐ ระดับพื้นฐาน

                  1.4  การบริหารราชการแบบบูรณาการ ไดสงเสริมการบริหารราชการแบบบูรณาการ โดยดําเนินการในดานตาง ๆ

            ดังนี้

                       •  การกําหนดบทบาท ภารกิจ และขอบเขตอํานาจหนาที่ระหวางสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น
            ไดดําเนินการศึกษาวิเคราะหเพื่อปรับปรุงแนวทางการจัดสวนราชการในภูมิภาคใหมีความสอดคลองกับบริบทที่

            เปลี่ยนแปลงไปและกลไกในการพัฒนาประเทศ  รวมทั้งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความเปนเอกภาพในการบริหารจัดการ
            ในพื้นที่ และลดความซํ้าซอนในเชิงภารกิจของรัฐ นอกจากนี้ยังมีดําเนินการสรางความเขมแข็งในการบริหารเชิงพื้นที่

            ผานกลไกของคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.) ซึ่งมีนายกรัฐมนตรี
            เปนประธาน โดยไดมีการพิจารณาใหความเห็นชอบแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุมจังหวัด (พ.ศ. 2557 - 2560)

            ฉบับทบทวนใหม  (รอบป  พ.ศ.  2560)  และแผนปฏิบัติราชการประจําปของจังหวัด  แผนปฏิบัติราชการประจําปของ
            กลุมจังหวัด รวมทั้งคําของบประมาณของจังหวัดและกลุมจังหวัด ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 ประกอบดวย โครงการ
            และงบประมาณที่เห็นสมควรไดรับการสนับสนุนภายในกรอบวงเงินจํานวน 2,529 โครงการ รวม 28,628,299,096 บาท

            และ  โครงการและงบประมาณที่เห็นสมควรไดรับการสนับสนุนเกินกรอบวงเงินจํานวน  3,286  โครงการ
            รวม 36,315,532,705 บาท









                                     19               รายงานการพัฒนาระบบราชการไทย ประจําป‚ พ.ศ. 2 5 5 9    19
                                                                                                           19
                                                                                                           19
                                                      รายงานการพัฒนาระบบราชการไทย ประจําป‚ พ.ศ. 2 5 5 9
                                                      รายงานการพัฒนาระบบราชการไทย ประจําป‚ พ.ศ. 2 5 5 9
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25