Page 113 - Full paper สอฉ.3-62
P. 113

อิเล็กทรอนิกส์  พบว่าประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์  มือกระทำ ปฏิบัติ และการแก้ปัญหา หรือศึกษาค้นคว้าด้วย
             การสอน  ที่ได้รับการพัฒนาโดยความร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญทั้ง  ตนเองโดยยึดตามความสนใจ ทำให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน
             ด้านเนื้อหา  ด้านการวัดและการประเมินผล  และด้านบทเรียน  ซึ่งส่งผลต่อความสามารถในการสะสม(Retention) สามารถ
             คอมพิวเตอร์ช่วยสอน   มีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.03/83.56 สูง  ระลึกถึงเนื้อหาหรือสิ่งต่างๆ ที่ตนได้รับการเรียนรู้หรือได้รับ
             กว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด 80/80  เมื่อนำคะแนนสอบก่อน  ประสบการณ์มาก่อน ในระยะเวลาที่ทิ้งช่วงห่างกันออกไป
             และคะแนนสอบหลังเรียนมาวิเคราะห์เพื่อหาประสิทธิผลหลัง  ระยะเวลาหนึ่ง
             กระบวนการ(Epost) 83.56 และประสิทธิผลก่อนกระบวนการ
             (Epre) 19.61  ดังนั้นบทเรียนคอมพิวเตอร์การสอนที่พัฒนาขึ้น  10) เอกสารอ้างอิง
             นี้ทำให้ผู้เรียนมีประสิทธิผลทางการเรียนเพิ่มขึ้น 63.94 (ได้ผล
             ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ 60) ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่  Pairoj Trirathanakul, Suwanna Sombunsukho,
             มีต่อบทเรียนมีค่าเฉลี่ย 4.37 ซึ่งอยู่ในระดับพึงพอใจมาก     Suriyong Lerkulvanich and Nithi Buranajant “An
                                                                    Effective Construction of Computer Assisted
             สภาพการณ์ปัจจุบันวิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม  มีการส่งเสริม  Lesson Based on Interactive
             ให้ครูใช้สื่อการเรียนการสอนในกระบวนการเรียนการสอน  เพื่อ  Multimedia Computer Assisted Instruction
             สร้างแรงจูงใจแก่นักศึกษาให้มีความต้องการอยากที่จะเรียนรู้    Theory (IMMCAI)”   Proceeding
             อีกทั้งกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียน e-Learning     of    “International Joint Conference on
             สามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี   โดย  computer, Information, and Systems Sciences,
             ไม่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก สามารถใช้งานได้สะดวก   ผู้เรียน  And Engineering (CIS2E 07)”   University of
             สามารถลดความกังวล  ลดความกลัว  โดยเฉพาะอย่างยิ่งลด     Bridgeport, USA. December 3-12, 2007.
             ความกลัวในการเรียนรู้ลงได้มาก  ทั้งนี้เพราะบทเรียน e-  กิดานันท์  มะลิทอง.( 2548.(   เทคโนโลยีและการสื่อสาร
             Learning สามารถทำให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพมาก     เพื่อการศึกษา . กรุงเทพฯ โรงพิมพ์อรุณการพิมพ์ .   :
             ขึ้น   ซึ่งผลการวิจัยนี้สอดคล้องกับ กิดานันท์  มะลิทอง  Boonchom Srisaard. (1998). Teaching Strategies that
             (2548:220) ได้กล่าวเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ดังนี้     focus on learner-centered. Chomromdek
             “คอมพิวเตอร์ช่วยสอน”  เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นสื่อ     Publisher, p.10.
             ในการสอนเพื่อให้มีการโต้ตอบกันได้ในระหว่างผู้เรียนกับเครื่อง  นันท์นภัส  ทิพย์อาสน์ และคณะ. การสร้างบทเรียน
             คอมพิวเตอร์  รวมถึงการตอบสนองต่อข้อมูลที่ผู้เรียนป้อนเข้าไป     คอมพิวเตอร์การสอน วิชาการประมวลผลข้อมูล.
             ได้ในทันที่  ซึ่งเป็นการช่วยเสริมแรงให้แก่ผู้เรียน  เช่นเดียวกับ             สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
             การเรียนการสอนระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนในห้องเรียนปกติ              คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
             บทเรียนจะมีรูปแบบต่าง ๆ  ในแต่ละบทเรียนจะมีตัวอักษร           มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี:
             ภาพกราฟิก ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียงประกอบด้วยใน         การประชุมวิชาการ ECTI-CARD 2010,
             ลักษณะของสื่อประสม ทำให้ผู้เรียนสนุกไปกับการเรียนไม่รู้สึก
             เบื่อหน่าย  ในการดำเนินการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้บทเรียน e-
             Learning ทั้งนี้เพื่อต้องการให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการทาง
             วิทยาศาสตร์  การคิดวิเคราะห์  สามารถสร้างองค์ความรู้ด้วย
             ตัวเอง และมีความคงทนในการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
             พิจารณาถึงระดับความพึงพอใจของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ใช้
             บทเรียน e-Learning    ซึ่งอยู่ในระดับดีมาก และจากการศึกษา
             ความคงทนในการเรียนรู้ของผู้เรียนในการเรียนด้วยบทเรียน e-
             Learning   พบว่า ผู้เรียนมีความคงทนในการเรียนรู้ไม่แตกต่าง
             จากการเรียนครั้งแรก โดยคะแนนทดสอบหลังเรียนทั้งสองครั้ง
             ใกล้เคียงกัน เมื่อทิ้งระยะเวลาผ่านไปแล้ว 1 เดือน ซึ่งผลการวิจัย
             นี้สอดคล้องทฤษฎีเรื่อง ความคงทนในการเรียนรู้(Boonchom
             Srisaard, 1998) กล่าวคือการเรียนรู้ที่ดีย่อมต้องก่อให้ผู้เรียนเกิด
             ความจำที่มากขึ้น และส่วนหนึ่งที่ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความคงทนใน
             การเรียนรู้ คือ การที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ โดยการลง

                                                              5
                                                                                                                95
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118