Page 111 - Full paper สอฉ.3-62
P. 111
(5) สร้างแผนภูมิการนำเสนอในแต่ละหน่วย)Module • แบบประเมินความเหมาะสม และความสอดคล้อง
Presentation Chart) การสร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนe-Learning
(6) เขียนรายละเอียดเนื้อหาตามรูปแบบที่ได้กำหนด (Script • แบบประเมินผลการเรียนรู้ท้ายหน่วยเรียน เป็นแบบ
Development) เลือกตอบ 4 ตัวเลือก รวม 225 ข้อ
(7) จัดทำลำดับเนื้อหา(Storyboard Development) • แบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนรู้ด้วย
(8) นำเนื้อหาที่ยังเป็นสิ่งพิมพ์นี้มาตรวจสอบหาค่าความถูกต้อง บทเรียน e-Learning
(Content Correctness)
(9) การสร้างแบบทดสอบส่วนต่าง ๆ 7) ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
(10) เลือก Software หรือโปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะสม
(11) จัดเตรียมรูปภาพ เสียง หรือการถ่ายวิดีโอ ภาพนิ่ง หรือ 7.1) ผลการหาคุณภาพแบบประเมินจากผู้เชี่ยวชาญด้าน
Caption ไว้ให้พร้อมที่จะใช้งาน บทเรียน e-Learning แสดงได้ดังตารางที่ 1
(12) จัดการนำ Courseware เข้าในโปรแกรม (Coding) ด้วยความ
ประณีต และด้วยทักษะที่ดี ตารางที่ 1: แสดงดัชนีความสอดคล้องของแบบประเมินความ
(13) การตรวจสอบคุณภาพของ Package (Quality Evaluation) คิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านบทเรียน e-Learning
(14) ทำการทดลองการดำเนินการทดสอบหาประสิทธิภาพบทเรียน รายการประเมิน N X แปลผล
(15) ทำการทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพ (Efficiency E1/E2) ด้านเนื้อหา 3 0.84 ใช้ได้
ของ Package และดำเนินการหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านภาพ ภาษา และ
(Effectiveness) เสียง 3 0.79 ใช้ได้
(16) จัดทำคู่มือการใช้ Package (User Manual) หรือ ด้านตัวอักษรและสี 3 0.74 ใช้ได้
Package Instruction ด้านแบบทดสอบ 3 0.92 ใช้ได้
ด้านการจัดบทเรียน 3 0.86 ใช้ได้
6.2) แบบแผนการวิจัย ด้านคู่มือการใช้บทเรียน 3 0.89 ใช้ได้
ในการวิจัยครั้งนี้ ใช้แบบแผนการวิจัยแบบกลุ่มทดลองกลุ่ม เฉลี่ย 0.84 ใช้ได้
เดี่ยว วัดผลก่อนทดลองและหลังการทดลอง
(One Group Pretest–Posttest Design) จากตารางที่ 1 สรุปได้ดังนี้ ดัชนีความสอดคล้องของแบบ
ประเมินความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญแต่ละคน
O1 X O2 O3 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.84 สามารถนำไปใช้ได้
O1 : การวัดผลก่อนการทดลองใช้บทเรียน e-Learning 7.2) ผลการหาคุณภาพบทเรียนแบบ e-Learning
X : บทเรียน e-Learning ตารางที่ 2: ผลการประเมินคุณภาพความเหมาะสมของบทเรียน
O2 : การวัดผลหลังการทดลองใช้บทเรียน e-Learning e-Learning ตามแนวคิดของกาเย่ โดยผู้เชี่ยวชาญด้านบทเรียน
O3 : การวัดผลหลังจากเลิกใช้บทเรียนผ่านไป 1 เดือน e-Learning (N=3)
รายการประเมิน X S.D. แปลผล
6.3) เครื่องมือใช้ในการวิจัย ด้านเนื้อหา 4.25 0.37 ดีมาก
ด้านภาพ ภาษา และเสียง 4.16 0.35 ดีมาก
6.3.1 บทเรียน e-Learning วิชาการบริหารงานอุตสาหกรรม ด้านตัวอักษรและสี 4.19 0.34 ดีมาก
และการจัดการความปลอดภัย ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยี ด้านแบบทดสอบ 4.45 0.50 ดีมาก
หรือสายปฏิบัติการ ชั้นปีที่ 1 ด้านการจัดการบทเรียน 4.32 0.52 ดีมาก
ด้านคู่มือการใช้บทเรียน 4.54 0.58 ดีมาก
6.3.2 แบบประเมินเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ รวมเฉลี่ย 4.31 0.44 ดีมาก
• แบบประเมินบทเรียน e-Learning ซึ่งเป็นแบบประเมินที่มี
ค่าความเที่ยงตรง อำนาจจำแนก และค่าความเชื่อมั่น อยู่ จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้เชี่ยวชาญด้านบทเรียน e-Learning มี
ในเกณฑ์ที่นำมาใช้ได้ รายการประเมินมีจำนวน 6 ด้าน ความคิดเห็นเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพความเหมาะสมของ
รวม 50 ข้อ เป็นแบบมาตรประมาณค่า (Rating Scale) บทเรียน e-Learning โดยรวม 6 ด้าน มีระดับคุณภาพความ
5 ระดับ
3
93