Page 107 - Full paper สอฉ.3-62
P. 107
2.5 ปรับปรุงส่วนที่ต้องแก้ไขแล้วประกอบและ หลังจากการบันทึกค่าชิ้นงานที่ได้จากเครื่องฉีดใน
ตรวจสอบความเรียบร้อยของแม่พิมพ์ที่ได้จัดสร้างขึ้น ก่อนน า ขณะที่ท าการฉีดแล้ว ก็จะท าการเก็บตัวอย่างชิ้นงานและท าการ
แม่พิมพ์ไปทดลอง ตรวจวัดอีกครั้ง โดยที่วัดได้จากชิ้นงานจริงที่ท าการฉีดโดย
2.6 ทดลองฉีดชิ้นงานและตรวจสอบชิ้นงานที่ออกมา ค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมและชิ้นงานนั้นจะต้องปล่อยให้เย็น
จากแม่พิมพ์เทียบกับแบบชิ้นงานที่ได้ก าหนดไว้ ตัวในอุณหภูมิปกติ และท าการบันทึกค่าลงในตาราง
2.7 วิเคราะห์แผนการแก้ไข ในกรณีที่ชิ้นงานไม่
เป็นไปตามต้องการ
2.8 การสรุปผล
ตารางที่ 3.2 ตารางขนาดชิ้นงานที่ได้และชิ้นงานนั้นจะต้องปล่อยให้เย็นตัวใน
อุณหภูมิปกติ
4.5 ผลการทดลองการฉีด
จากการน าค่าที่ได้ก าหนดไว้ในแบบของชิ้นงานหรือ
ค่าที่ถูกก าหนดขึ้นมาไว้ขั้นตอนการออกแบบโดยโปรแกรม 3D
Top Solid นั้นมาใช้เป็นเกณฑ์จริงในการตรวจสอบชิ้นงาน ซึ่ง
ปรากฏว่าชิ้นงานมีการเปลี่ยนแปลงไปจากขนาดที่ได้ก าหนด
ภาพประกอบ 1 แสดงลักษณะการออกแบบชิ้นงานตัวหุ้มล้อวีลแชร์ ไว้ และมีความ คลาดเคลื่อนไปจากค่าที่ได้ก าหนดแต่โดยรวม
แล้วยังอยู่ในค่าความคลาดเคลื่อนที่สามารถยอมรับได้ คือไม่
3. ผลการวิจัย เกิน 0.25 mm. จากค่าที่ได้ก าหนดไว้ในแบบชิ้นงาน โดย
จุดประสงค์ของโครงการนี้คือต้องการพัฒนาแม่พิมพ์ฉีด โปรแกรม Top Solid 3D
พลาสติกตัวหุ้มล้อวีลแชร์ เพื่อไว้ส าหรับน าไปประกอบกับตัว สาเหตุของความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น อาจเกิดจาก
ล้อเพื่อลดแรงกระแทก ผลที่ได้จาการทดลองการฉีดจะเอามา ค่าตัวแปรบางค่าที่ควบคุมไม่ได้ตัวอย่างเช่น ประสิทธิภาพของ
เปรียบเทียบผลระหว่างขนาดจริงและขนาดที่ก าหนดไว้ใน เครื่องฉีด และคุณสมบัติของพลาสติกที่น ามาฉีดจริงกับ
Software Top Solid 3D เพื่อใช้เป็นแนวทางส าหรับการแก้ไข คุณสมบัติพลาสติกที่ใช้ในการออกแบบแตกต่างกัน อาจเป็น
ปัญหาที่เกิดขึ้นกับงานฉีดพลาสติกตัวหุ้มล้อวีลแชร์ และเป็น เพราะการผลิตที่แตกต่างกันจากโรงงานผู้ผลิตเม็ดพลาสติก เมื่อ
แนวทางในการการออกแบบแม่พิมพ์ฉีดพลาสติกแก่นิสิต เปรียบเทียบกับการฉีดพลาสติกจริง จึงมีค่าที่คลาดเคลื่อนไป
นักศึกษาและบุคคลทั่วไป บ้าง จากการทดลองการฉีดจริงสามารถสรุปว่า ชิ้นงานที่ได้จาก
การด าเนินงานหลังจากท าการแก้ไขปรับปรุงแม่พิมพ์ การทดลองฉีดสามารถน าไปใช้งานได้และอยู่ในค่าที่ยอมรับได้
เสร็จเรียบร้อยแล้วขั้นต่อไปที่จะท าคือการทดลองการฉีดและ รวมไปถึงได้ค่าพารามิเตอร์ที่ได้จากการปรับการฉีด ไว้ใช้ใน
บันทึกค่าพารามิเตอร์ในการฉีด แล้วน าค่าต่างๆ ที่ได้จากผลการ การผลิตครั้งต่อๆไป
ทดลองมาสรุปผลหาค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมและน าชิ้นงาน
มาตรวจสอบและเปรียบเทียบต่อไป 4. สรุปและอภิปรายผลการวิจัย
ในบทนี้จะกล่าวถึงผลสรุปของการด าเนินโครงการครั้งนี้
ข้อเสนอแนะและข้อจ ากัดของโครงการ รวมถึงแนวทางในการ
แก้ปัญหา ประโยชน์ที่ได้และการน าข้อมูลทั้งหมดไป
ประยุกต์ใช้เพื่อการด าเนินงานต่อๆไป ในอนาคต
ตาราง3.1. แสดงการตรวจสอบขนาดชิ้นงานที่ได้จากเครื่องฉีดในขณะที่ท าการฉีด
3
89