Page 110 - Full paper สอฉ.3-62
P. 110

การบริหารงานอุตสาหกรรมและการจัดการความปลอดภัย     4) สมมติฐานการวิจัย
             จึงศึกษาแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ หลักสูตร ตำรา คู่มือ
             ผลงานวิจัย มาใช้ในการแก้ปัญหา และพบว่า  การพัฒนาบทเรียน   4.1) ประสิทธิภาพของบทเรียน e-Learning   วิชาการบริหารงาน
             e-Learning เป็นแนวทางหนึ่งจากหลายๆ แนวทางในการ   อุตสาหกรรมและการจัดการความปลอดภัย  ระดับปริญญาตรีสาย
             แก้ปัญหา  จากเหตุผลและแนวคิดดังกล่าวข้างต้น  ผู้วิจัยจึงพัฒนาสื่อ  เทคโนโลยี ชั้นปีที่ 1 มีประสิทธิภาพ อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน  80/80
             การเรียนการสอนในรูปแบบของบทเรียน e-Learning เพื่อพัฒนาและ  4.2) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษากลุ่มเป้าหมายที่ใช้บทเรียน
             แก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษารวมทั้งสร้าง  e-Learning อยู่ในระดับมาก
             ทางเลือกให้นักศึกษาสามารถที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น โดย
             กำหนดการพัฒนาออกเป็น 2 ทางเลือก  คือการเรียนรู้ในชั้นเรียน  5) ขอบเขตของการวิจัย
             โดยใช้เอกสารประกอบการสอนในรูปแบบต่าง ๆ และพัฒนา    บทเรียน e-Learning วิชาการบริหารงานอุตสาหกรรมและการ
             บทเรียน e-Learning  เพื่อใช้เป็นสื่อสอนเสริมผู้เรียนที่เรียนรู้ได้เร็ว  จัดการความปลอดภัย  ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยี ชั้นปีที่ 1
             และพัฒนาผู้เรียนที่เรียนรู้ได้ช้าโดยวิธีการเรียนรู้ผ่านบทเรียน e-
             Learning  เพื่อให้ผู้เรียนสามารถศึกษาความเข้าใจเพิ่มเติมและ  ประชากร  ได้แก่  นักศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือ
             ฝึกความชำนาญ และยังช่วยตอบสนองความสามารถของผู้เรียน  สายปฏิบัติการ ชั้นปีที่ 1   สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
             ในการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยผู้เรียนสามารถใช้เวลาว่างใน  วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม
             การศึกษาด้วยตนเอง ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนมีความรู้และความ
             ชำนาญในวิชามากยิ่งขึ้น  และสามารถนำความรู้ที่ได้มา  กลุ่มตัวอย่าง
             ประยุกต์ในการสร้างงานต่าง ๆ และยังจะเกิดประโยชน์กับ  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้หาคุณภาพของเครื่องมือแบบประเมินผลการ
             ผู้สนใจทั่วไปอีกด้วย                             เรียนรู้ แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนและแบบประเมิน
                                                              ประสิทธิภาพของบทเรียนและความพึงพอใจของนักศึกษาได้แก่
             2) วัตถุประสงค์ของการวิจัย                       นักศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ปีที่ 1

             วัตถุประสงค์ของการวิจัย  มีดังนี้                สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม  ภาค
             2.1) เพื่อวิเคราะห์และออกแบบบทเรียน e-Learning       เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 14 คน สุ่มเลือกแบบ
             วิชาการบริหารงานอุตสาหกรรมและการจัดการความปลอดภัย    เฉพาะเจาะจง(purposive sampling)เนื่องจากนักศึกษาทั้งหมด
             ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยี ชั้นปีที่ 1           มีผลการเรียน คุณลักษณะ คุณสมบัติและบริบท ตรงกับ
             2.2) เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียน                ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่จะใช้ศึกษา ใช้เป็นกลุ่มทดลองหา
             2.3) เพื่อหาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียน   ประสิทธิภาพของบทเรียน e-Learning    ในแบบเดี่ยว 1:1    แบบ
                                                              กลุ่มย่อย 1:10    และแบบกลุ่มใหญ่  (ทดลองภาคสนาม) แบบ
             3) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ                     1:14 (กลุ่มย่อยกับกลุ่มใหญ่ เป็นนักศึกษากลุ่มเดียวกัน)

             3.1) ได้บทเรียน e-Learning  รายวิชาการบริหารงาน  6) วิธีดำเนินการวิจัย
             อุตสาหกรรมและการจัดการความปลอดภัย ระดับปริญญาตรีสาย
             เทคโนโลยี ชั้นปีที่ 1  ที่มีเนื้อหาครอบคลุมตรงตามวัตถุประสงค์  6.1) พัฒนาบทเรียน e-Learning ตามรูปแบบ Interactive
             ของรายวิชา                                       Multi Media Computer Assisted Instruction : IMMCAI
             3.2) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาบทเรียน e-Learning    ใน   ของคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี  มหาวิทยาลัย
             รายวิชาอื่น ๆ ที่เหมาะสมซึ่งจะเป็นผลให้เกิดการส่งเสริมการวิจัย  เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 5 ขั้นตอนหลัก  1.ขั้นวิเคราะห์
             และพัฒนาบทเรียนในระบบการศึกษามากยิ่งขึ้น         (Analysis) 2.ขั้ น อ อ ก แ บ บ (Design) 3.ขั้ น พั ฒ น า
             3.3) ผู้เรียนสามารถนำบทเรียน ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นไปใช้ใน  (Development)  4.ขั้ น ส ร้ า ง ( Implementation)  5.ขั้ น
             การศึกษาด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ              ประเมินผล (Evaluation)     ประกอบด้วย 16 ขั้นตอนย่อย
             3.4) เพื่อนำบทเรียน ที่พัฒนานี้ไปใช้ในการเรียนการสอนนักศึกษา  ดังนี้
             สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์  วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม   (1) สร้างแผนภูมิระดมสมอง (Brain Storm Chart)
             หรือผู้ที่สนใจได้ทุกสถานที่ทุกเวลา               (2) สร้างแผนภูมิหัวเรื่องสัมพันธ์ (Concept Chart)
                                                              (3) สร้างแผนภูมิโครงข่ายเนื้อหา (Content Network Chart)
                                                              (4) การกำหนดกลวิธีการนำเสนอและวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
                                                              (Strategic Presentation Plan and Behavior Objective)
                                                              2
                                                                                                                92
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115