Page 109 - Full paper สอฉ.3-62
P. 109
nd
การประชุมวิชาการระดับชาติ สอฉ 3 วิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 2 The 2 Institute of Vocational Education : Northeastern Region 3
Research and Innovation Conference
วันที่ 6 กันยายน 2562 จ. มหาสารคาม 6 September 2019 ,Mahasarakham , THAILAND
การพัฒนาบทเรียน e-learning
วิชาการบริหารงานอุตสาหกรรมและการจัดการความปลอดภัย
ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยี ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
Development of e-Learning on Industrial Management and Safety Management subjects
Bachelor of Science in Technology Year 1, Computer Technology Program
ณัฐธัญ สุวรรณทา
สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3
บทคัดย่อ ที่สุดในการพัฒนาคนให้มีประสิทธิภาพ การศึกษาเป็นการเตรียม
คนสำหรับสังคมในอนาคตให้เป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ติดตามข้อมูล
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์และออกแบบ ข่าวสาร วิทยาการใหม่ ๆ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น
บทเรียน e-learning วิชาการบริหารงานอุตสาหกรรมและการ อย่างรวดเร็วและหลากหลาย รู้จักคิดวิเคราะห์ ให้เหตุผล
จัดการความปลอดภัย 2) หาประสิทธิภาพของบทเรียน 3) แก้ปัญหาได้ อีกทั้งยังมุ่งพัฒนาพฤติกรรมทางสังคมที่ดีงามทั้ง
ประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียน ประชากรที่ ในการทำงานและการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข การจัดการ
ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยี ชั้น อาชีวศึกษา และการฝึกอบรมวิชาชีพ ของสำนักงาน
ปีที่ 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิค คณะกรรมการการอาชีวศึกษา มี 3 ระดับ คือ ระดับ
มหาสารคาม ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาการบริหารงานอุตสาหกรรม ประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
และการจัดการความปลอดภัย จำนวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้ใน ชั้นสูง(ปวส.) และระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสาย
การวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1) บทเรียนe-Learning วิชา ปฏิบัติการ ในการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรีสาย
วิชาการบริหารงานอุตสาหกรรมและการจัดการความปลอดภัย เทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ เนื่องจากมีขอบข่ายกว้างขวาง
และ 2) แบบประเมินเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า โดยเริ่มจากวิชาชีพช่างพื้นฐานไปจนถึงเนื้อหาสาระที่ต้องมีการ
1) ดัชนีความสอดคล้องของแบบประเมินความคิดเห็นของ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้ทันต่อเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และ
ผู้เชี่ยวชาญเฉลี่ยเท่ากับ 0.84 2) ประสิทธิภาพของบทเรียน เหตุการณ์ ปัญหาอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมทั้งด้านเศรษฐกิจ
E1 / E2 = 83.21 / 81.16 3) ความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียน สังคมตามที่กล่าวมา ส่งผลให้คุณภาพการจัดการเรียนการสอน
จากบทเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.28 มีความพึงพอใจอยู่ใน ในระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ไม่ดี
ระดับมาก ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า บทเรียน e-Learning วิชาการ เท่าที่ควร จากการวิเคราะห์สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน
บริหารงานอุตสาหกรรมและการจัดการความปลอดภัย ระดับ พบว่า การที่นักศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยี ชั้นปีที่ 1
ปริญญาตรีสายเทคโนโลยี ชั้นปีที่ 1 สามารถนำไปใช้ในการ สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีผลการเรียนต่ำกว่าระดับ 3
จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งไม่เป็นไปตามความคาดหวังของผู้วิจัย โดยมีสาเหตุมาจาก
ปัจจัยหลายประการ เช่น เนื้อหาวิชาที่กำหนดไว้ในหลักสูตร มี
คำสำคัญ: บทเรียน e-Learning , ประสิทธิภาพของ มากเกินไป นักศึกษาไม่สามารถเรียนรู้ได้ครบในเวลาเพียง 3 คาบ
บทเรียน e-Learning, ความพึงพอใจ ต่อสัปดาห์ ซึ่งรวมถึงการฝึกภาคปฏิบัติ นักศึกษาไม่ชอบเรียน
วิชาภาคทฤษฎี นักศึกษายังไม่ได้ปฏิบัติตนเกี่ยวกับความ
1) บทนำ รับผิดชอบให้เป็นนิสัย ครูสอนอย่างเคร่งเครียด นักศึกษาไม่
สังคมไทยในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่าคงรวดเร็ว ซึ่งเป็นผล สนุกและไม่มีความสุขในการเรียน ครูใช้สื่อที่ไม่เหมาะสมกับวัย
มาจากความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาการต่างๆ การพัฒนา วุฒิภาวะ และความสามารถของนักศึกษา และปัจจัยอื่นๆ เมื่อ
ประเทศให้เจริญก้าวหน้านั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนา พิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ ที่เป็นสาเหตุให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
กำลังคนให้มีคุณภาพการศึกษานับว่าเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญ ของนักศึกษาไม่น่าพึงพอใจ ผู้วิจัยในฐานะเป็นครูผู้สอนรายวิชา
1
91