Page 231 - Full paper สอฉ.3-62
P. 231
รองลงมาเป็นกราไฟท์เกรด ISEM-8 และกราไฟท์เกรด ISO-63 จากทดลองอัตราการสึกหรอของอิเล็กโตรดที่สึกหรอน้อยที่สุด
ตามลำดับ ส่วนอัตราการสึกหรอของอิเล็กโตรด เมื่อให้ค่า เมื่อให้ค่ากระแสไฟฟ้าที่ 6 แอมแปร์ อิเล็กโตรด กราไฟท์เกรด
กระแสไฟฟ้าที่ 6, 9 และ12 แอมแปร์ อิเล็กโตรดกราไฟท์เกรด ISO- ISO-63 ให้อัตราการสึกหรอของอิเล็กโตรดที่ต่ำสุดที่ 1.69
63 ให้อัตราการสึกหรอของอิเล็กโตรดที่ต่ำสุด รองลงมาเป็นกราไฟท์ เปอร์เซ็นต์ รองลงมาเป็นกราไฟท์เกรด TTK-5 ที่ 31.12 เปอร์เซ็นต์
เกรด TTK-5 และกราไฟท์เกรด ISEM-8 จะให้ค่าอัตราการสึกหรอ และกราไฟท์เกรด ISEM-8 จะให้ค่าอัตราการสึกหรอของอิเล็กโตรด
ของอิเล็กโตรดมากที่สุดไปในทางเดียวกัน และผลจากการทดลอง มากที่สุดที่ 68.18 เปอร์เซ็นต์ เมื่อค่ากระแสเพิ่มมากขึ้นอัตราการสึก
ของการสปาร์คชิ้นงานด้วยการปรับกระแสที่เหมาะสมต่อค่าความ หรอก็จะเพิ่มมากขึ้นเช่นกัน
หยาบผิวที่เกิดขึ้น พบว่าเมื่อให้ค่ากระแสไฟฟ้าที่ 6 แอมแปร์ 8.1.3 คุณภาพผิวงานในรูปของความหยาบผิวเฉลี่ย (Ra :
อิเล็กโตรดกราไฟท์เกรด ISEM-8 ให้ค่าความหยาบผิวที่ต่ำที่สุด Roughness average)ผลการทดลองปรับค่ากระแส พบว่าระดับ
รองลงมาเป็นกราไฟท์เกรด ISO-63 และกราไฟท์เกรด TTK-5 จะให้ กระแสที่เพิ่มสูงขึ้นนั้นย่อมหมายถึงระดับความรุนแรงของการกัดเซาะ
ค่าความหยาบผิวที่มากที่สุด ส่วนค่ากระแสไฟฟ้าที่ 9 และ12 ที่มากขึ้น (กระแสเป็นต้นกำเนิดพลังงานความร้อนในการกัดเซาะ) ซึ่ง
แอมแปร์ อิเล็กโตรดกราไฟท์เกรด ISEM-8 ให้ค่าความหยาบผิวที่ต่ำ ส่งผลให้ผิวงานที่ถูกขจัดออกจะลึกลงไปในผิวงานเมื่อสิ้นสุดวัฏจักร
ที่สูงสุด รองลงมาเป็นกราไฟท์เกรด TTK-5 และกราไฟท์เกรด ISO- การกัดเซาะจึงกลายเป็นผิวงานที่มีความหยาบผิว ซึ่งผลจากการ
63 จะให้ค่าความหยาบผิวที่มากที่สุดตามลำดับ ทดลองของการสปาร์คชิ้นงานด้วยการปรับกระแสที่เหมาะสมต่อค่า
ความหยาบผิวที่เกิดขึ้น พบว่าเมื่อให้ค่ากระแสไฟฟ้าที่ 6 แอมแปร์
8.2 อภิปรายผล การวิจัย อิเล็กโตรดกราไฟท์เกรด ISEM-8 ให้ค่าความหยาบผิวที่ต่ำที่สุดที่
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการทำงานของอิเล็กโตรดกราไฟท์ทั้ง 1.30 ไมโครเมตร รองลงมาเป็นกราไฟท์เกรด ISO-63 ที่ 1.62
3 เกรด ได้แก่ เกรด TTK-5, ISEM-8 และISO-63 ซึ่งทำการทดลอง ไมโครเมตร และกราไฟท์เกรด TTK-5 จะให้ค่าความหยาบผิวที่มาก
จากการปรับค่ากระแสเพื่อศึกษาถึงประสิทธิภาพการแปรรูป โดย ที่สุดที่ 1.81 ไมโครเมตร
ประเมินผลจากอัตราการขจัดเนื้องาน และอัตราการสึกหรอของ การศึกษาประสิทธิภาพวัสดุอิเล็กโตรดกราไฟท์ต่างเกรดใน
อิเล็กโตรด ตลอดจนคุณภาพผิวงานในรูปของความหยาบผิวเฉลี่ย การอีดีเอ็มชิ้นงานโลหะเหล็กเครื่องมืองานร้อน ค่ากระแสซึ่งใน
ทำให้สามารถสรุปตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัยได้ดังนี้ กระบวนการกัดเซาะโลหะด้วยไฟฟ้าจัดว่าเป็นต้นกำเนิดความร้อนใน
8.1.1 อัตราการขจัดเนื้องาน (MRR : Material การสปาร์ค ซึ่งจากการทดลองพบว่า ประสิทธิภาพการแปรรูปชิ้นงาน
Removal Rate)ผลการทดลองปรับกระแส พบว่าเมื่อกระแสเพิ่ม ในรูปของอัตราการขจัดเนื้องาน อิเล็กโตรด กราไฟท์เกรด TTK-5
มากขึ้นอัตราการขจัดเนื้องานจะสูงขึ้นตามเนื่องจากปริมาณกระแส ให้อัตราการขจัดเนื้องานที่สูงที่สุดที่ 7.66 ลูกบาศก์มิลลิเมตรต่อนาที
ต่อพื้นที่หน้าตัดเพิ่มสูงขึ้นทำให้ความร้อนที่เกิดเพิ่มสูงขึ้นเป็นเหตุให้ จะเพิ่มขึ้นตามค่ากระแส อัตราการสึกหรออิเล็กโตรดกราไฟท์เกรด
การขจัดเนื้องานเกิดเป็นหลุมลึกที่มีความกว้างเพิ่มมากขึ้น ซึ่งผลการ ISO-63 ให้อัตราการสึกหรอของอิเล็กโตรดที่ต่ำสุดที่
ทดลองอัตราการขจัดเนื้องานสูงสุดเมื่อให้ค่ากระแสไฟฟ้าที่ 12 8.3 ข้อเสนอแนะ
แอมแปร์ โดยผลการทดลองเป็นไปในแนวทางเดียวกันทั้ง 3 เกรด แต่ วัสดุที่นำมาเป็นอิเล็กโตรดควรมีคุณสมบัติด้านการนำไฟฟ้า
เมื่อทำการเปรียบเทียบอัตราการขจัดเนื้องานแล้วพบว่า ที่ดี เหมาะแก่การนำมาใช้งานด้านไฟฟ้า จึงจะสามารถเพิ่ม
อิเล็กโตรดกราไฟท์เกรด TTK-5 ให้อัตราการขจัดเนื้องานที่สูง ประสิทธิภาพการทำงานในกระบวนการอีดีเอ็มและยังสามารถลด
ที่สุดที่ 7.66 ลูกบาศก์มิลลิเมตรต่อนาที รองลงมาเป็นกราไฟท์เกรด เวลาในการผลิตได้ นอกจากนี้ควรศึกษาค่าพารามิเตอร์ให้เหมาะสม
ISEM-8 ที่ 7.62 ลูกบาศก์มิลลิเมตรต่อนาที และกราไฟท์เกรด ISO- กันระหว่างอิเล็กโตรดและชิ้นงานก่อนปฏิบัติงานทุกครั้ง
63 ที่ 7.20 ลูกบาศก์มิลลิเมตรต่อนาทีตามลำดับ จากการศึกษาประสิทธิภาพของอิเล็กโตรดแต่ละเกรดแล้ว
8.1.2 อัตราการสึกหรอของอิเล็กโตรด (EWR : ผู้วิจัยจึงมีความเห็นว่าควรจะใช้อิเล็กโตรดกราไฟท์เกรด ISO-63 ใน
Electrode Wear Rate)ผลการทดลองปรับกระแส พบว่าผลกระทบ การสปาร์คชิ้นงานโลหะเหล็กเครื่องมืองาน ร้อน SKD61 เนื่องจากมี
ที่มีต่ออัตราการสึกหรอของอิเล็กโตรดนั้นจะเพิ่มขึ้นตามค่ากระแส อัตราการขจัดเนื้องานที่สูงอยู่ในระดับหนึ่งแต่มีอัตราการสึกหรอของ
ซึ่งมีสาเหตุมาจากอัตรากระแสต่อพื้นที่หน้าตัดที่มากทำให้เกิดเป็น อิเล็กโตรดที่ต่ำมากเมื่อเทียบกับ อิเล็กโตรดกราไฟท์เกรดอื่นๆ ซึ่งจะ
พลังงานความร้อนซึ่งกัดกร่อนทั้งชิ้นงานและวัสดุอิเล็กโตรดเป็น เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานมากที่สุดสำหรับอิเล็กโตรดกราไฟท์เกรด
สาเหตุให้อิเล็กโตรดเกิดการสึกหรอ ซึ่งผลจากการและค่า TTK-5 เป็นอิเล็กโตรดที่มีค่าขจัดเนื้องานสูงมากก็จริงแต่ก็ให้อัตรา
กระแสไฟฟ้าที่ 12 แอมแปร์ อิเล็กโตรดกราไฟท์เกรด TTK-5 ให้ การสึกหรอสูงเช่นเดียวกัน และอิเล็กโตรดหราไฟท์เกรด ISEM-8 เป็น
อัตราการขจัดเนื้องานที่สูงที่สุด อิเล็กโตรดที่ให้ค่าความหยาบผิวที่ต่ำที่สุดแต่ก็มีอัตราการสึกหรอที่สูง
จึงไม่เหมาะที่จะใช้งาน
213