Page 640 - Full paper สอฉ.3-62
P. 640
4. การโทรแจ้งซ่อมหรือเขียนใบแจ้งซ่อมอาจจะเกิดการ
สูญหายในระหว่างด าเนินการ 3.2 การก าหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานบริษัท
ทั้งนี้บริษัทยังคงใช้การแจ้งซ่อมผ่านทางโทรศัพท์และการ
บริษัท ราชามอเตอร์ร้อยเอ็ด จ ากัด จ านวน 100 คน
จดบันทึกอาจจะท าให้ข้อมูลเกิดการสูญหายได้
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานบริษัท
ด้วยเหตุนี้ผู้ศึกษาได้มองเห็นถึงความส าคัญของระบบไอที บริษัท ราชามอเตอร์ร้อยเอ็ด จ ากัด จ านวน 10 คน ซึ่งได้มาจาก
จึงได้ท าการพัฒนาระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย
ด้านไอที กรณีศึกษา บริษัท ราชามอเตอร์ร้อยเอ็ด จ ากัด เพื่อ
แก้ไขปัญหาดังกล่าว และเพื่อเพิ่มช่องทางการบริการแก่ 3.3 การออกแบบและสร้างเครื่องมือ
พนักงานและเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงาน ในการวิจัยครั้งนี้ คณะผู้วิจัย ได้ท าการออกแบบและสร้าง
เครื่องมือ โดยแบ่งเป็นดังนี้
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 3.3.1 การออกแบบ
2.1 เพื่อพัฒนาระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ด้าน คณะผู้วิจัยได้ท าการออกแบบระบบโดยประกอบด้วย การ
ออกแบบแผนผังระบบงานเดิม แผนภาพบริบทระบบงานเดิม
ไอที กรณีศึกษา บริษัท ราชามอเตอร์ร้อยเอ็ด จ ากัด
แผนภาพการไหลข้อมูลระบบงานเดิม แผนผังระบบงานใหม่
2.2 เพื่อหาคุณภาพของระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์และ
แผนภาพบริบทระบบงานใหม่ แผนภาพการไหลข้อมูล
อุปกรณ์ด้านไอที กรณีศึกษา บริษัท ราชามอเตอร์ร้อยเอ็ด จ ากัด ระบบงานใหม่ การออกแบบฐานข้อมูล และพจนานุกรมข้อมูล
2.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งาน ที่มีผลต่อระบบ 3.3.2 การสร้างเครื่องมือ
แจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ด้านไอที กรณีศึกษา บริษัท คณะผู้วิจัย ได้ท าการสร้างเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูลจากกลุ่ม
ราชามอเตอร์ร้อยเอ็ด จ ากัด ตัวอย่าง โดยประกอบด้วย การพัฒนาโปรแกรม การสร้างแบบ
ประเมินคุณภาพและแบบประเมินความพึงพอใจ
3. วิธีด าเนินการวิจัย
การวิจัยในครั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้ด าเนินการพัฒนาระบบแจ้ง 3.4 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ซ่อมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ด้านไอที กรณีศึกษา บริษัท ราชา 3.4.1 ค่าเฉลี่ย (Mean) ใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด,
มอเตอร์ร้อยเอ็ด จ ากัด โดยท าการวิจัยดังนี้ 2545 : 103)
3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล ∑
3.2 วิเคราะห์ความต้องการของระบบ กก จากสูตร x̅ = n
3.3 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เมื่อ x̅ แทน ค่าเฉลี่ย
กกกกกกกกก∑ แทน ผลรวมของคะแนน
3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งหมดในกลุ่ม
ผู้ศึกษาได้ท าการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ กกกกกกกก N แทน จ านวนคนในกลุ่ม
บริษัท ราชามอเตอร์ร้อยเอ็ด จ ากัดโดยมีขั้นตอนในการเก็บ 3.4.2 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
รวบรวมข้อมูลแบบประเมินคุณภาพดังนี้ ใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 103)
3.1.1 ศึกษาปัญหา วิเคราะห์ ออกแบบและพัฒนาระบบแจ้ง จากสูตร S. D. = n ∑ 2 −(∑x) 2
x
n(n−1)
ซ่อมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ด้านไอที กรณีศึกษา บริษัท ราชา เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
มอเตอร์ร้อยเอ็ด จ ากัด x แทน ค ะ แ น น แ ต่ ล ะ ตั ว
3.1.2 ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพของระบบ n แทน จ านวนคะแนนในกลุ่ม
3.1.3 กลุ่มตัวอย่างประเมินความพึงพอใจของระบบ ∑ แทน ผลรวม
3.1.3 คณะผู้วิจัยท าการเก็บรวบรวมข้อมูล
3
622