Page 706 - Full paper สอฉ.3-62
P. 706
กลยุทธ์ ของนักศึกษาเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาการ โดย ให้นักศึกษาท าใบงานและประกอบด้วยนักศึกษาที่
จัดการส านักงาน(ต่อเนื่อง) วิทยาลัยอาชีวศึกษา คละความสามารถ คือ นักเรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน
ขอนแก่น โดยใช้สื่อประสม พบว่า มีค่าเฉลี่ยคะแนน นักเรียนจะช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการแลกเปลี่ยน
สอบก่อนเรียน 20.20 คะแนน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เรียนรู้ประสบการณ์ และความรู้ร่วมกัน ซึ่งเป็นการช่วย
คะแนนสอบก่อนเรียน 3.49 ค่าเฉลี่ยคะแนนสอบหลัง ให้นักเรียนได้ฝึกการเรียนรู้ร่วมกันได้อีกทางหนึ่ง และ
เรียน 37.20 คะแนน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานคะแนน หลังจากนักศึกษาเรียนจบในแต่ละคาบ ได้มีการ
สอบหลังเรียน 3.35 และค่าเฉลี่ยคะแนนสอบก่อน สนทนาซักถามในเนื้อหาที่ยังไม่เข้าใจ และช่วยกันสรุป
เรียนและหลังสอบเรียน 28.70 คะแนน ค่าเบี่ยงเบน โดยครูจะคอยเพิ่มเติมในข้อสรุปบางอย่าง ก่อนที่จะให้
มาตรฐานก่อนเรียนและหลังสอบเรียน 9.17 และเมื่อหา นักเรียนท าแบบฝึกหัด รวมทั้งครูให้การเสริมแรง ใช้
ค่าเฉลี่ยคะแนน T score ก่อนเรียนมีค่าเท่ากับ 40.73 เทคนิคการสอน และใช้สื่อการสอนหลายๆ ประเภท
ค่าเฉลี่ยคะแนน T score หลังเรียนเท่ากับ 59.27 ผลต่าง กระตุ้นนักเรียน อันจะส่งผลต่อการพัฒนาการเรียนรู้
ค่า T score ก่อนเรียนและหลังเรียน 18.54 และมี ของนักเรียน
อัตราส่วนผลต่างค่าเฉลี่ย T score สูงขึ้นร้อยละ 45.52 ข้อเสนอแนะ
เปอร์เซ็นต์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการใช้สื่อประสมมาใช้
ประกอบการเรียนการสอนส่งผลให้คะแนนสอบหลัง 1. ควรเพิ่มเติมสื่อประสมให้ครอบคลุมเนื้อหาทั้ง
เรียนมากกว่าคะแนนสอบก่อนเรียน สอดคล้องกับ รายวิชาการจัดการเชิงกลยุทธ์ เพื่อให้นักศึกษาเกิดมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เพิ่มขั้น
งานวิจัยของ ยุพิน พิพิธกุล ที่กล่าวว่า สื่อประสมเป็น
สื่อ ที่ท าให้นักเรียนเกิดความสนใจ ไม่เบื่อหน่าย เพราะ 2. ควรพัฒนาสื่อประสมให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
3. น าไปเป็นแบบอย่างในการผลิตสื่อการเรียนการ
มีการเปลี่ยนสิ่งเร้าอยู่ตลอดเวลา อีกทั้งท าให้นักเรียน สอนในรายวิชาอื่นๆ เพื่อช่วยในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ได้รับความรู้กว้างขวางและเข้าใจบทเรียนดียิ่งขึ้น และ
ยังท าให้ประหยัดเวลา ท าให้นักเรียนเกิดความรู้ได้ ทางการเรียนให้กับนักเรียนนักศึกษาตลอดจนผู้ที่สนใจ
รวดเร็ว เพราะได้เรียนจากสื่อการเรียนการสอนที่ เอกสารอ้างอิง
แตกต่างกันหลายๆ อย่าง สื่อประสมที่ผู้วิจัยที่น ามาใช้ กิดานันท์ มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาและ
ประกอบการจัดการเรียนรู้สามารถอธิบาย หรือ นวัตกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
ถ่ายทอดความรู้จากนามธรรมมาสู่ความรู้ที่เป็น มหาวิทยาลัย. 2543.
รูปธรรมได้อย่างเป็นระบบ สื่อประสมสอดคล้องกับ กรรณิการ์ เพ่งพิศ. การพัฒนาทักษะการแก้โจทย์
จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา สื่อมีความหลากหลาย ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
แปลกและมีสีสัน สร้างความเร้าใจช่วยกระตุ้นให้ โดยใช้สื่อประสม. ปริญญานิพนธ์ กศ.บ. เชียงใหม่ :
นักเรียนมีความสนใจในการ เรียนรู้ ท าให้นักเรียนเกิด บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ถ่าย เอกสาร.
องค์ความรู้ สามารถพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องท า 2545.
ให้เกิดการเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาได้อย่างมีประสิทธิภาพ จริยา เหนียนเฉลย. เทคโนโลยีการศึกษา.
และจากการสัมภาษณ์นักเรียนส่วนใหญ่มีทัศนคติเชิง กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมกรุงเทพ. 2546.
บวกในการท ากิจกรรม เพราะผู้วิจัยได้จัดการเรียนรู้
8
688