Page 708 - Full paper สอฉ.3-62
P. 708

nd
             การประชุมวิชาการระดับชาติ สอฉ 3 วิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 2                       The 2  Institute of Vocational Education : Northeastern Region 3
                                                        Research and Innovation Conference
             วันที่  6  กันยายน  2562  จ. มหาสารคาม                                                                                     6 September 2019 ,Mahasarakham , THAILAND


                             การศึกษาผลผลิตไรน ้านางฟ้าสิรินธรโดยใช้ระยะเวลาการดูดตะกอนต่างกัน


                                  Study of Fairy Shrimp (Streptocephalus sirindhornae) Product

                                            by Using Different silt Suction Periods



                                                        1,*
                                                                             1
                                            พิศมัย เฉลยศักดิ์   และ เอื้ออารี สุขสมนิตย์
                   1 ภาควิชา/สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น ้า. คณะประมง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคกลาง


             บทคัดย่อ                                         Randomize  Design  (CRD),  3  treatments,  4  replication,
                                                              treatment:  1  days/times,  2  days/times,  3  days/times,  4
                 การศึกษาผลผลิตไรน ้านางฟ้าสิรินธรโดยใช้ระยะเวลาการ

             ดูดตะกอนต่างกัน วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์     days/times and 5 days/times. The 20-day culture showed that
             (Complelety Randomize Design ; CRD) จ านวน 5 ทรีตเมนต์ๆ   using  3  days/times  of  silt  suction  time  with  the  highest
             ละ 4 ซ ้า ทรีตเมนต์ที่ 1 ดูดตะกอนไรน ้านางฟ้าสิรินธร 1 วัน/  average yield equal to 15.55±1.64 kilograms and 5 days/time

             ครั้ง ทรีตเมนต์ที่ 2 ดูดตะกอนไรน ้านางฟ้าสิรินธร 2 วัน/ครั้ง   with the lowest average yield equal to 11.88±1.18 kilograms.
             ทรีตเมนต์ที่ 3 ดูดตะกอนไรน ้านางฟ้าสิรินธร 3 วัน/ครั้ง ทรีต  When using the data to analyze the statistics, it was found that

             เมนต์ที่ 4 ดูดตะกอนไรน ้านางฟ้าสิรินธร 4 วัน/ครั้ง ทรีตเมนต์  the amount of products by using different silt suction times.
             ที่ 5 ดูดตะกอนไรน ้านางฟ้าสิรินธร 5 วัน/ครั้ง เลี้ยงไรน ้านางฟ้า  There   are   significant   differences   (p<0.05).

             ในบ่อขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 5 เมตร สูง 0.60 เมตรใช้  Keywords: Fairy Shrimp, Streptocephalus sirindhornae, silt

             ระยะเวลาการเลี้ยง 20 วัน พบว่าไรน ้านางฟ้าที่ใช้ระยะเวลาการ  suction time
             ดูดตะกอน 3 วัน/ครั้ง ให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงที่สุด เท่ากับ
             15.55±1.64 กิโลกรัม รองลงมา คือ ไรน ้านางฟ้าที่ใช้ระยะเวลา  1.  บทน า

             การดูดตะกอนแบบ 2 วัน/ครั้ง, 1 วัน/ครั้ง และ 4วัน/ครั้ง ให้  ไรน ้านางฟ้าสิรินธร(Streptocephalus sirindhornae) [1] เป็น
             ผลผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 13.28±1.00, 12.88±0.29 และ 12.38±1.49   สัตว์น ้าจืดขนาดเล็กอยู่ใน Order Anostraca Class Branchiopoda
             กิโลกรัม ตามล าดับ และไรน ้านางฟ้าที่ใช้ระยะเวลาการดูด  subphylum Crustacea phylum Arthropoda ทั่วโลกพบ 23 สกุล

             ตะกอนแบบ 5 วัน/ครั้ง ให้ผลผลิตเฉลี่ยต ่าสุดเท่ากับ   273 สปีชีย์ [2] ไรน ้านางฟ้าสามารถน ามาใช้เป็นอาหารสัตว์น ้า
             11.88±1.18 กิโลกรัม โดยการเลี้ยงไรน ้านางฟ้าที่ใช้ระยะเวลา  ทดแทนอาร์ทีเมียในอุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยง สัตว์น ้าจืด [3]

             การดูดตะกอน 3 วัน/ครั้ง แตกต่างจากการดูดตะกอนระยะเวลา  ซึ่งต้องน าเข้าจากต่างประเทศ ดังนั้นไรน ้านางฟ้าจึงเป็นอีก
             อื่นๆ (p<0.05)                                   ทางเลือกหนึ่งของอาหาร สัตว์น ้ามีชีวิต ปัจจุบันเกษตรกร
             Abstract                                         ส่วนมากให้ความสนใจต้องการเพาะเลี้ยงไรน ้านางฟ้าเป็น

               The study of Streptocephalus sirindhornae, fairy shrimp  อาหารของสัตว์น ้าสวยงามและจ าหน่ายให้แก่เกษตรกร

             product  by  using  different  silt  suction  periods  Complelety  ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น ้าสวยงามทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
                                                              ในการจัดการบ่อเลี้ยงไรน ้านางฟ้า ทางผู้เพาะเลี้ยงได้ดูดตะกอน
             * พิศมัย เฉลยศักดิ์, เอื้ออารี สุขสมนิตย์ (Corresponding author)
             E-mail address: chphisamai@gmail.com, auaree1966@gmail.com

                                                             1
                                                                                                              690
   703   704   705   706   707   708   709   710   711   712   713