Page 711 - Full paper สอฉ.3-62
P. 711
3. สรุปและอภิปรายผล
การเลี้ยงไรน ้านางฟ้าสิรินธรด้วยการดูดตะกอนที่ใช้
ระยะเวลาต่างกันให้จ านวนผลผลิตที่แตกต่างกันอย่างมี
นัยส าคัญ (p<0.05) โดยการเลี้ยงไรน ้านางฟ้าที่ใช้ระยะเวลาการ
ดูดตะกอน 3 วัน/ครั้ง ให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงที่สุดเท่ากับ
15.55±1.64 กิโลกรัม ไรน ้านางฟ้าสามารถเจริญเติบโตได้ดี
สมบูรณ์ แข็งแรง อาจเป็นเพราะตะกอนที่เกิดขึ้นในบ่อไม่
หนาแน่นจนเกินไปท าให้สามารถดูดตะกอนได้ง่ายกว่าการดูด
รูปที่ 7 ผลผลิตไรน ้านางฟ้าสิรินธรอายุ 20 วัน ตะกอนแบบ 4 วัน/ครั้ง และ 5 วัน/ครั้ง โดยเฉพาะการดูด
ตะกอน 5 วัน/ครั้ง พบปัญหาตะกอนจะฟุ้งกระจายทั่วบ่อและ
2.5.2 คุณภาพน ้าระหว่างการเลี้ยงไรน ้านางฟ้าสิรินธร
จากการศึกษาคุณภาพน ้าในบ่อเลี้ยงไรน ้านางฟ้าสิรินธร ยากต่อการดูดตะกอน โดยสังเกตพบว่าไรน ้านางฟ้ามีสุขภาพไม่
ด้วยการดูดตะกอนที่ใช้ระยะเวลาต่างกัน พบว่าคุณภาพน ้าที่วัด แข็งแรงและว่ายน ้าไม่ปราดเปรียว สอดคล้องกับนุกูล [2] การ
ได้มีค่าความเป็ นกรดด่าง 9.0-9.5 ค่าแอมโมเนีย 0.0-0.5 ดูดตะกอนที่พื้นบ่อออกเป็นครั้งคราวจะช่วยให้สภาพแวดล้อม
มิลลิกรัม/ลิตร ค่าออกซิเจนละลายน ้า 5 มิลลิกรัม/ลิตร และค่า ภายในบ่อเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของไรน ้านางฟ้ายิ่งขึ้น
อุณหภูมิน ้า 29-30 องศาเซลเซียส อยู่ในช่วงที่เหมาะสมต่อการ ส่วนการดูดตะกอนแบบ 1 และ 2 วัน/ครั้ง พบว่าไรน ้านางฟ้าที่มี
เลี้ยงสัตว์น ้า แต่ตะกอนในบ่อเลี้ยงที่ดูดตะกอนแบบ 3 วัน/ครั้ง ขนาดเล็กถูกดูดติดไปกับตะกอนไม่สามารถน ากลับมาคืนบ่อ
มีตะกอนไม่หนาแน่นจนเกินไปท าให้ดูดตะกอนสะดวก และ เลี้ยงได้ เนื่องจากตัวไรน ้านางฟ้ามีสภาพบอบช ้าและตาย
ไรน ้านางฟ้าแข็งแรง ลอกคราบจ านวนมาก การเลี้ยงที่ดูด กิตติกรรมประกาศ
ตะกอนแบบ 4 วัน/ครั้ง จะมีตะกอนสะสมมาก ดูดตะกอนยาก การศึกษาผลผลิตไรน ้ านางฟ้าสิรินธร คณะผู้ศึกษา
ไรน ้ านางฟ้าลอกคราบน้อย ว่ายน ้ าบริเวณผิวหน้าน ้ าไม่ ขอขอบพระคุณ ดร. นุกูล แสงพันธุ์ ที่ให้ค าปรึกษาและ
ปราดเปรียว และการเลี้ยงที่ดูดตะกอนแบบ 5 วัน/ครั้ง จะมี ข้อเสนอแนะในการท าการวิจัยและแก้ไขงานจนส าเร็จตาม
ตะกอนสะสมมากที่สุด ดูดตะกอนยากเนื่องจากตะกอนหนา วัตถุประสงค์ ตลอดทั้งคณะครูผู้บริหารและนักศึกษาวิทยาลัย
ไรน ้านางฟ้าไม่แข็งแรง และมีไรน ้านางฟ้าบางส่วนตายที่ก้นบ่อ เกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรีที่ช่วยเหลือท าให้งานวิจัยครั้ง
ส่วนการเลี้ยงที่ดูดตะกอน 1 วัน/ครั้ง และ 2 วัน/ครั้ง แม้ว่าจะมี นี้ส าเร็จไปได้ด้วยดี งานวิจัยครั้งนี้ประสบผลส าเร็จได้ด้วย
ตะกอนน้อยที่สุด แต่ไรน ้านางฟ้าจะบอบช ้าเนื่องจากการดูด บุคคลดังกล่าวข้างต้น ยังมีบุคคลที่เกี่ยวข้องอีกหลายท่านที่ยัง
ตะกอนถี่เกินไป และมีไรน ้ านางฟ้าตายเป็ นบางส่วน ไม่ได้กล่าวถึงผู้จัดท าขอขอบพระคุณมา ณ ที่นี้ด้วย
รายละเอียดดังตารางที่ 2
เอกสารอ้างอิง
ตารางที่ 2 คุณภาพน ้าในบ่อเลี้ยงไรน ้านางฟ้าสิรินธรที่ใช้ระยะเวลาในการ
ดูดตะกอนต่างกัน [1] Sanoamuang L, Murugan G, Weekers GPHH,Dumont HJ.
Streptocephalus sirindhornae, new species of freshwater fairy
NH DO อุณหภูมิน ้า
ทรีตเมนต์ pH 3 shrimp (Anostraca) from Thailand. Journal of Crustacean Biology
0
(mg/l) (mg/l) ( C) 2000; 20: 559-565.
ดูดตะกอน 1 วัน/ครั้ง 9.0 0.0 5 29 [2] นุกูล แสงพันธุ์, การเพาะเลี้ยงอาหารมีชีวิต Live Feed Culture.
ดูดตะกอน 2 วัน/ครั้ง 9.0 0.1 5 30 (พิมพ์ครั้งที่ 1), คณะวิชาประมง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
ดูดตะกอน 3 วัน/ครั้ง 9.0 0.25 5 30 สุพรรณบุรี, พ.ศ.2555, หน้า 1-114.
ดูดตะกอน 4 วัน/ครั้ง 9.5 0.3 5 30
ดูดตะกอน 5 วัน/ครั้ง 9.5 0.5 5 30 [3] นุกูล แสงพันธุ์, โฆษติ ศรีภูธร และละออศรี เสนาะเมือง, ไรน ้า
นางฟ้า-จิ๋วแต่แจ๋ว, ศูนย์วิจัยอนุกรมวิธานประยุกต์, คณะ
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, พ.ศ.2549, หน้า 1-85.
4
693