Page 715 - Full paper สอฉ.3-62
P. 715

3


                             (2) เส้นใยชั้นสอง(Secondary mycelium)         (3) มูลไก่ ควรเป็นมูลที่แห้งและเก่า โดยใช้
               หมายถึง เส้นใยที่เกิดจากการรวมตัวของเส้นใยชั้นแรก โดย  มูลไก่แห้ง 1 ส่วนผสมดินแห้ง 3 ส่วน

               เส้นใยชั้นแรกจะมาสัมผัสกันและผนังเซลล์จะละลาย              (4) ผักตบชวา ควรเก็บจากแหล่งน ้าที่
               จากนั้นเส้นใยชั้นแรกจะรวมตัวกัน และจะมีการเจริญเป็น  สะอาด ถ้าเป็นน ้าเน่าเหม็นก็ควรจะน ามาแช่หรือใช้น ้า
               เส้นใยชั้นสองต่อไป เส้นใยชั้นสองส่วนมากจะมีข้อยึด  สะอาดฉีดล้างออกก่อน ถ้าเป็นผักตบชวาต้นอ่อนบริเวณ

               ระหว่างเซล (Clamp connection)                  ก้านใบที่โปร่งนุ่มจะให้ผลผลิตดีกว่าต้นแก่ที่มีก้านใบยาว
                             (3) เส้นใยชั้นที่สาม (Tertiary mycelium)   ผักตบชวาควรสับให้เป็นชิ้นขนาด 2-3 เซนติเมตรหรืออาจ

               หมายถึง เส้นใยที่มีการวิวัฒนาการมาจากเส้นใยทั้งสอง เมื่อ  ใช้เครื่องหั่นก็ได้ ซึ่งจะท าให้ได้ผักตบชวาที่สม ่าเสมอดี
               เส้นใยมีการเจริญเติบโตเต็มที่ จะมีการกระตุ้นโดยพวก  ผักตบชวาถ้ามีรากยาวมากให้ตัดรากออกก่อนแล้วน ามาสับ
               ฮอร์โมน (Hormone) ซึ่งมีผลท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลง   หรือหั่นแล้วจึงน าไปตากแดดให้แห้ง

               โดยเส้นใยจะรวมตัวกันและเจริญเป็นดอกเห็ด เรียกว่า           (5) ต้นกล้วย น ามาหั่นหรือสับแบบเดียวกับ
               Fruiting body และจะเปลี่ยนแปลงเป็นส่วนต่าง ๆ ของ   การใช้เลี้ยงหมู แล้วจึงน ามาตากให้แห้งก่อนน ามาใช้ต้อง
               ดอกเห็ด เมื่อดอกเห็ดเจริญเติบโตเต็มที่ก็จะสร้างสปอร์เพื่อ  น ามาแช่น ้าให้อุ้มน ้าก่อน

               ใช่ในการขยายพันธุ์ต่อไป (ปัญญา โพธิ์ฐิติรัตน์ [4]          (6) เปลือกถั่วลิสงหรือเปลือกถั่วเขียว น ามา
                                                              ตากให้แห้งและป่นละเอียด ซึ่งเปลือกถั่วลิสงหรือเปลือก
                                                              ถั่วเขียวที่น ามาใช้นั้น นอกจากจะใช้เป็นอาหารเสริมเพื่อท า

                                                              ให้ได้ดอกเห็ดฟางที่มีขนาดใหญ่ขึ้นแล้ว ถ้ามีจ านวนมาก
                                                              สามารถใช้เป็นวัสดุเพาะเห็ดฟางแทนฟางได้อีกด้วย

                                                                     3.1.4  ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและออก
                                                              ดอกของเห็ดฟาง
                                                                          1) สารอาหาร เห็ดฟางมีความต้องการ

                                                              ธาตุอาหาร เกลือแร่ และวิตามินหลักเช่นเดียวกันกับ
                                                              พืชทั่วไป จะแตกต่างกันเพียงรูปของธาตุอาหารเท่านั้น

                                                              ธาตุอาหารที่เห็ดต้องการมีมากมายหลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิด
                   ภาพที่ 2 วงจรชีวิตของเห็ดฟาง               จะมีความส าคัญเท่าเทียมกัน เพียงแต่ใช้ในปริมาณที่

                   ที่มา   :  อนงค์ จันทร์ศรีกุล [8]          แตกต่างกันเท่านั้น แต่เนื่องจากเห็ดไม่สามารถสังเคราะห์
                                                              อาหารขึ้นเองได้ จึงจ าเป็นจะต้องอาศัยอาหารส าเร็จรูปจาก
                       3.1.3 อาหารเสริม                       แหล่งต่าง ๆ เช่น ไม้ผุ และ ปุ๋ ยหมัก เป็นต้น

                       การเพาะเห็ดฟางจ าเป็นต้องใช้อาหารเสริม เพราะ        2) อุณหภูมิ เห็ดฟางเป็ นเห็ดที่ต้องการ
               การใส่อาหารเสริมจะช่วยท าให้เส้นใยของเห็ดฟาง        อุณหภูมิค่อนข้างสูงส าหรับการเจริญเติบโต เห็ดฟาง
               เจริญเติบได้ดี ดอกเห็ดที่ออกมาจะมีปริมาณมากกว่าที่  เจริญได้ดีในช่วงฤดูร้อนและฤดูฝนเพราะอากาศร้อนจะช่วย

               ไม่ได้ใส่อาหารเสริมเป็นจ านวนมาก อาหารเสริมที่นิยมใช้  เร่งการเจริญเติบโตของดอกเห็ดฟางได้ดี ส่วนในช่วง
               มีหลายอย่าง ได้แก่                             ฤดูหนาวเห็ดฟางเจริญเติบโตไม่ค่อยดีนัก เพราะอากาศที่
                           (1) มูลวัว ควรเป็นมูลแห้งละเอียด   เย็นเกินไปจะท าให้เห็ดฟางออกดอกน้อย แต่อย่างไรก็ตาม

                           (2) มูลหมู ควรเป็นมูลที่ตากจนแห้งสนิท  ประเทศไทยสามารถเพาะเห็ดฟางได้ตลอดทั้งปี แต่ในช่วง
               ไม่เก็บไว้จนเก่าเกินไป                         ฤดูหนาวผลผลิตจะลดลง จึงส่งผลท าให้ในช่วงดังกล่าว







                                                                                                              697
   710   711   712   713   714   715   716   717   718   719   720