Page 723 - Full paper สอฉ.3-62
P. 723
สันหลัง 19 – 20 มิลลิเมตร (T3), ระดับความหนาไขมันสัน
หลัง 21 – 22 มิลลิเมตร (T4), ระดับความหนาไขมันสันหลัง 23
– 24 มิลลิเมตร (T5) และระดับความหนาไขมันสันหลัง ≥ 25
มิลลิเมตร (T6)
น ้าหนักลูกสุกรแรกคลอดเฉลี่ย พบว่า ไม่มีความแตกต่าง
กันทางสถิติของน ้าหนักลูกสุกรแรกคลอดโดยมีค่าเท่ากับ 1.37,
1.37, 1.46, 1.39, 1.34, และ1.38 กิโลกรัม/ตัว ดังแสดงในตาราง
ที่ 1
น ้าหนักลูกสุกรหย่านมเฉลี่ย พบว่า ไม่มีความแตกต่างกัน
ทางสถิติของน ้าหนักลูกสุกรหย่านมโดยมีค่าเท่ากับ 5.88, 5.75,
5.70, 5.81, 5.94, และ5.41 กิโลกรัม/ตัว ดังแสดงในตารางที่ 1
6. สรุปและอภิปรายผล
จากการวิจัยการวัดค่าความหนาไขมันสันหลังในแม่สุกร
ก่อนคลอด โดยมีระดับความหนาไขมันสันหลัง <16 , 17-18 ,
19-20 , 21-22 , 23-24 และ >25 มิลลิเมตร ในแม่สุกรก่อนคลอด
พบว่า น ้าหนักลูกสุกรแรกคลอดและน ้าหนักลูกสุกรหย่านมของ
กลุ่มควบคุมไม่แตกต่างทางสถิติจากกลุ่มที่มีระดับความหนา
ไขมันสันหลัง
มีการรายงานการศึกษาของ Tummaruk et al (2007) อ้าง
โดย ชัยณรงค์ และคณะ 2551. พบว่าสุกรสาวที่ตรวจพบการ
เป็นสัดครั้งแรกกลุ่มที่มีความหนาไขมันสันหลังระหว่าง 13.1-
15.0 มิลลิเมตร จะมีจ านวนลูกสุกรทั้งหมดต่อครอกสูงกว่าก/
ลุ่มที่มีความหนาไขมันสันหลังระหว่าง 11.1-13.0 มิลลิเมตร
กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบพระคุณผู้อ านวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
บุรีรัมย์ ผู้อ านวยการศูนย์สหกิจศึกษาและทวิภาคี เครือเบทาโกร
นายจิราณุวัฒน์ นามมนตรีและนางสาวสุวรรณี กระชิรัมย์
นักศึกษาทวิภาคี แผนกวิชาสัตวศาสตร์และกัลยาณมิตรทุกท่าน
ที่ท าให้งานวิจัยส าเร็จไปได้ด้วยดี
เอกสารอ้างอิง
[1] จรัญ จันทลักขณา. 2534. สถิติวิธีวิเคราะห์และวางแผนงานวัย. พิมพ์
ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
[2] ชัยณรงค์ ภูมิรัตนประพิณ. อรรณพ คุณาวงษ์กฤต. เผด็จ ธรรม
รักษ์. และวิชัย ทันตศุภารักษ์. 2551. “ความสัมพันธ์ระหว่างความ
หนาไขมันสันหลังกับจ านวนลูกสุกรทั้งหมดต่อครอกในแม่สุกร,”
สัตวแพทย์มหานครสาร. 3(1) : 36-42 ; มกราคม – มิถุนายน.
3
705