Page 726 - Full paper สอฉ.3-62
P. 726

2.2.7 เก็บรวบรวมข้อมูลการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิต
             2.3 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

                2.3.1 การเจริญเติบโตของต้นข้าว โดยการสุ่มวัดจ านวน 10
             กอ
                    1) วัดความสูงของข้าว เมื่ออายุ 40 วัน หลังปักด า

                    2) นับจ านวนต้นต่อกอ เมื่ออายุ 40 วัน หลังปักด า
                2.3.2 ผลผลิตของข้าวเหนียวพันธุ์สกลนคร
                    1) องค์ประกอบของผลผลิตข้าวเหนียวพันธุ์สกลนคร   ภาพที่ 1 ความสูงของข้าวเหนียวพันธุ์สกลนคร

                    2) น ้าหนักผลผลิตข้าวเปลือกที่ได้จากการนวดแล้วผึ่ง     3.1.2 ผลการศึกษาการแตกกอของข้าวเหนียวพันธุ์
             แดด จ านวน 5 แดด                                 สกลนครเมื่ออายุ 40 วันหลังปักด า พบว่ามีจ านวนต้นต่อกอ

             2.4 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล                       เฉลี่ย 19.61 ต้น เมื่อวิเคราะห์ความแปรปรวนพบว่าไม่มีความ
                วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of  แตกต่างทางสถิติ (p >0.05) แต่มีแนวโน้มว่า การแตกกอของ
             variance; ANOVA) เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยโดย ข้าววิธีการใส่ถ่านชีวภาพจ านวน 6 กิโลกรัม (T3) มีการแตกกอ

             วิธี LSD (Least Significance Difference)         ของข้าวค่อนข้างมากกว่าวิธีการอื่นๆ เล็กน้อย  ดังตารางที่ 2
                                                              และภาพที่ 2
             3. ผลการวิจัย

             3.1 การเจริญเติบโตของข้าวเหนียวพันธุ์สกลนคร       ตารางที่ 2 จ านวนต้นต่อกอของข้าวเหนียวพันธุ์สกลนคร
                3.1.1 ผลการศึกษาความสูงพบว่าการเจริญเติบโตของข้าว
             เหนียวพันธุ์สกลนครเมื่ออายุ 40 วันหลังปักด า มีความสูงเฉลี่ย   วิธีการ       ค่าเฉลี่ยจ านวน

             113.95 เซนติเมตร เมื่อวิเคราะห์ความแปรปรวนพบว่าไม่มี                 ต้น/กอ
             ความแตกต่างทางสถิติ (p >0.05) แต่มีแนวโน้มว่าการ     1 ไม่ใส่ถ่านชีวภาพ      19.18
                                                                                          18.38
                                                                  2 ใส่ถ่านชีวภาพ 3 ก.ก
             เจริญเติบโตของข้าวเหนียวพันธุ์สกลนครในการใส่ถ่านชีวภาพ    3 .ใส่ถ่านชีวภาพ 6 ก.ก   20.30
             ใส่ถ่าน 3 กิโลกรัม (T2)   มีผลท าให้มีความสูงของข้าวพันธุ์   4 ใส่ถ่านชีวภาพ 9 ก.ก   17.78
             สกลนครสูงกว่ากว่าวิธีการอื่นๆ เล็กน้อย ดังตารางที่ 1 และ   5 ใส่ถ่านชีวภาพ 12 ก.ก   19.55
             ภาพที่ 1                                                 ค่าเฉลี่ย           19.61
                                                                                             ns
             ตารางที่ 1 ความสูงของข้าวเหนียวพันธุ์สกลนคร               F-test             1.25
                                                                       CV. (%)             9.80
                     วิธีการ    ค่าเฉลี่ยความสูงต้นข้าว(ซม.)
                1.ไม่ใส่ถ่านชีวภาพ       114.95
                2.ใส่ถ่านชีวภาพ 3 ก.ก    116.90
                3 ใส่ถ่านชีวภาพ 6 ก.ก    112.80
                4 ใส่ถ่านชีวภาพ 9 ก.ก    111.85
                5 ใส่ถ่านชีวภาพ 12 ก.ก   113.23
                ค่าเฉลี่ย                113.95
                F-test                   0.93
                                            ns
                CV. (%)                  5.59


                                                                 ภาพที่ 2 จ านวนต้นต่อกอของข้าวเหนียวพันธุ์สกลนคร




                                                              3
                                                                                                              708
   721   722   723   724   725   726   727   728   729   730   731