Page 728 - Full paper สอฉ.3-62
P. 728
พบว่าการเจริญเติบโตของข้าวเหนียวพันธุ์สกลนครเมื่ออายุ ข้าวสูงขึ้นทั้งนี้ การใส่ถ่านชีวภาพลงไปในดินจะช่วยปรับปรุง
40 วัน ทั้งความสูงต้นข้าว และจ านวนต้นต่อกอ ของข้าวเหนียว คุณสมบัติของดิน ให้ดินกักเก็บคาร์บอนลงในดินและปรับปรุง
พันธุ์สกลนครที่ได้รับถ่านชีวภาพทั้ง 5 อัตรา ไม่มีความ สภาพทางกายภาพของดิน สอดคล้องกับงานวิจัยของ อารีย์
แตกต่างทางสถิติ (p > 0.05) แต่อย่างใด คล่องขยัน (2555)[1] ที่กล่าวไบโอชาร์คือถ่านที่ใช้ประโยชน์
4.1.2 ด้านผลผลิต เพื่อ เนื่องจากคุณสมบัติของถ่านชีวภาพ คือมีรูพรุนตาม
1) จ านวนรวงต่อต้นของข้าวเหนียวพันธุ์สกลนคร ที่ได้รับ ธรรมชาติเมื่อใส่ลงในดินจะช่วยการระบายอากาศ การซึมน ้า
ถ่านชีวภาพทั้ง 5 อัตรา ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (p >.05) แต่ การอุ้มน ้า ดูดยึดธาตุอาหาร เป็นที่อยู่ของจุลินทรีย์ ลดความ
มีแนวโน้มว่าจ านวนรวงต่อต้นของข้าวเหนียวพันธุ์สกลนคร เป็นกรดของดิน [2] กล่าวว่า ถ่านไบโอชาร์ที่ได้ประโยชน์
ในการการใส่ถ่านชีวภาพ T5ใส่ถ่านชีวภาพ 12 กิโลกรัม มี ไม่ใช่แค่น ากลับมาเป็นเชื้อเพลิงหุงต้มได้เท่านั้น เพราะจากการ
แนวโน้มว่ามีจ านวนรวงต่อต้นมากกว่าวิธีการอื่นๆ น าไปตรวจสอบวิเคราะห์ พบว่ามีส่วนผสมคาร์บอนและธาตุ
2) จ านวนเมล็ดต่อรวงของข้าวเหนียวพันธุ์สกลนคร พบว่า โพแทสเซียมสูงสามารถน ามาใช้เป็นวัสดุปลูกผัก ช่วยเพิ่มธาตุ
มีจ านวนเมล็ดต่อรวง เฉลี่ย 148.23 เมล็ด พบว่ามีความแตกต่าง อาหารในดิน ลดการใช้ปุ๋ ยเคมีบ ารุงต้นไม้ เพราะมีคุณสมบัติ
กันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ( p < .05) การใส่ถ่านชีวภาพ T2 ช่วยปรับปรุงดิน เก็บกักน ้าได้ดี ท าให้ดินมีความชุ่มชื้น
ใส่ถ่านชีวภาพจ านวน 3 กิโลกรัม มีจ านวนเมล็ดสูงกว่าวิธีการ กลายเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของจุลินทรีย์ใต้ดิน เมื่อดินอุดม
อื่นๆ สมบูรณ์จะท าให้พืชเดินรากหากินใต้ดินได้ง่าย การดูดซับ
3) น ้าหนักเมล็ดต่อรวงของข้าวเหนียวพันธุ์สกลนครพบว่า อาหารดีขึ้น ส่งผลให้ล าต้นพืชสมบูรณ์แข็งแรง และในถ่านไบ
มีน ้าหนักเมล็ดต่อรวง เฉลี่ย 5.93 เมล็ด ไม่มีความแตกต่างกัน โอชาร์ยังมีสารละลายฟอสเฟต และซิลิกา ซึ่งใช้ป้องกันแมลง
ทางสถิติ (p > .05) แต่มีแนวโน้มว่า T5 ใส่ถ่านชีวภาพจ านวน ศัตรูพืชได้ ท าให้เกษตรกรไม่ต้องพึ่งพาปุ๋ ย-เคมีภัณฑ์และที่
12 กิโลกรัมมีแนวโน้มให้น ้าหนักเมล็ดต่อรวงสูงกว่าวิธีการ จังหวัดนครพนม นายเกษม รักสุจริต เกษตรจังหวัดนครพนม
อื่นๆ เปิดเผยว่า ประชาชนส่วนใหญ่ของจังหวัดนครพนมประกอบ
4) ผลผลิตของข้าวเหนียวพันธุ์สกลนคร มีน ้าหนักเฉลี่ย อาชีพเกษตรกรรม และหลายๆคนมีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มสูงขึ้น
4.28 กิโลกรัมต่อหน่วยทดลอง พบว่าไม่แตกต่างกันทางสถิติ เนื่องจากสภาพดินขาดความอุดมสมบูรณ์เพราะมีการใช้
แต่มีแนวโน้มว่า การใส่ถ่านชีวภาพช่วยให้ได้ผลผลิตสูงกว่า ประโยชน์จากดินที่ไม่ถูกวิธีและต้องน าเอาสารเคมีเข้ามาเป็น
การไม่ใส่ถ่านชีวภาพ โดยวิธีการที่ 5 ใส่ถ่านชีวภาพจ านวน 12 ตัวช่วย ซึ่งนอกจากจะส่งผลต่อต้นทุนการผลิตแล้ว ยังส่งผลต่อ
กิโลกรัม ให้ผลผลิตค่อนข้างสูงกว่าวิธีการอื่น เฉลี่ย 4.53 สุขภาพด้วยเช่นเดียวกัน ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกษตร
กิโลกรัมต่อหน่วยทดลอง ส่วนวิธีการที่ 1 ซึ่งไม่ใส่ถ่านชีวภาพ ได้มีปุ๋ ยในการปรับปรุงบ ารุงดินไว้ใช้งาน ช่วยลดค่าใช้จ่ายและ
ให้ผลผลิตน้อยกว่าวิธีการอื่นๆ ให้ผลผลิต 3.90 กิโลกรัมต่อ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรให้สามารถแข่งขันใน
หน่วยทดลอง ตลาดได้ จังหวัดนครพนมโดยส านักงานเกษตรจังหวัด
4.2. วิจารณ์ผลการทดลอง นครพนม ได้เล็งเห็นว่าถ่านไบโอชาร์ (biochar) นั้นมีคุณสมบัติ
4.2.1 การเจริญเติบโตของข้าวเหนียวพันธุ์สกลนครเมื่อใส่ ที่ดี ซึ่งเมื่อน าไปปรับปรุงสภาพดินแล้ว จะท าให้ดินมีรูระบาย
ถ่านชีวภาพ 5 ระดับ ลงในแปลงปลูกพบว่าไม่มีความแตกต่าง อากาศมากขึ้น สามารถอุ้มน ้าได้ดีขึ้น ดูดซับแร่ธาตุ ที่เป็น
ทางสถิติ ทั้งด้านความสูงต้น และ จ านวนต้นต่อกอ อาหารส าคัญต่อการเจริญเติบโตของพืชได้ดี ทั้งยังลดความเป็น
4.2.2 ผลผลิตของข้าวเหนียวพันธุ์สกลนคร จ านวนรวงต่อ กรดเป็นด่างของดิน ที่ส าคัญคือเป็นที่อยู่ของจุลินทรีย์ที่เป็น
ต้น น ้าหนักต่อรวง และผลผลิตข้าว แม้จะพบว่าไม่มีความ ประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงได้จัดการฝึกอบรม
แตกต่างทางสถิติแต่มีแนวโน้มว่า การใส่ถ่านทุกอัตรา มีผลท า ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับถ่านไบโอชาร์(biochar)ให้กับตัวแทน
ให้ข้าวมีองค์ประกอบผลผลิต อันได้แก่ จ านวนรวงต่อกอ เกษตรกรจ านวน 500 คน จาก 12 อ าเภอ เพื่อน าไปถ่ายทอดต่อ
น ้าหนักต่อรวง สูงกว่าการไม่ใส่ถ่าน จึงส่งผลให้ผลผลิตเมล็ด ยังเพื่อนเกษตรกรด้วยกัน[3]
5
710