Page 725 - Full paper สอฉ.3-62
P. 725
difference. (p <0.05). The treatment of containing 6 kilograms เปลี่ยนเป็น “หอมภูพาน”มีการขยายผลสู่เกษตรกรในจังหวัด
of bio-charcoal (T3 ) gave the highest number of filled grains สกลนครและใกล้เคียงทั้งแบบข้าวไร่และข้าวนาสวน โดยมี
per panicle was 157.03 seeds. There was not significantly ผลผลิตประมาณ 467 กิโลกรัม/ไร่
difference (p>0 .0 5 ). Seed yield of rice were 3 .9 0 -4 .5 3 การประยุกต์ใช้ไบโอชาร์เพื่อปรับปรุงดินจึงเป็นเรื่องที่
kilograms per experimental unit (624 - 724 kg per rai). It also ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางในการน ามาใช้เพื่อการ
was not significantly difference (p>0 .0 5 ) but there was a พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน เนื่องจากคุณสมบัติของไบโอชาร์
tendency that the rate of 1 2 kg of charcoal per unit of ที่มีความเหมาะสมในการน ามาใช้เป็นวัสดุปรับปรุงดิน เพื่อ
experiment yield was higher than the rate of 9, 6 and 3 kg. of เพิ่มผลผลิตทางด้านเกษตรกรรม คณะผู้วิจัยมีความสนใจใช้พืช
biocharcoal. ทดลองคือ ข้าวเหนียวพันธุ์สกลนคร เป็นข้าวเหนียวที่มีกลิ่น
Key words : Biocharcoal, Glutinous rice Sakon Nakhon หอม ไม่ไวต่อช่วงแสง
,Growth and Yield
2. วิธีด าเนินการวิจัย
1. บทน า 2.1 การวางแผนการทดลอง
เทคโนโลยีถ่านชีวภาพ หรือ ไบโอชาร์ เป็นเทคโนโลยีที่ ผลของถ่านชีวภาพ 5 ระดับ ที่มีผลต่อการเจริญเติบโต
นักวิจัยให้ความสนใจน ามาใช้ในการเกษตรไบโอชาร์เป็นวัสดุ และการให้ผลผลิตของข้าวเหนียวพันธุ์สกลนคร วาง
ที่ผลิตจากชีวมวลผ่านกระบวนไพโรไลซิสหรือกระบวนให้ แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized
ความร้อนโดยปราศจากออกซิเจน ผลผลิตจากกระบวนการนี้ Design; CRD) มี 5 วิธีการ ท าการทดลอง 4 ซ ้า จ านวน 20
จะได้วัสดุที่อุดมไปด้วยคาร์บอนที่ไม่ย่อยสลายตามธรรมชาติ หน่วยทดลอง ขนาดกว้าง x ยาว 2x5 ตารางเมตร มีวิธีการดังนี้
โดยง่าย การประยุกต์ใช้ไบโอชาร์เพื่อปรับปรุงดินจึงเป็นเรื่องที่ วิธีการที่ 1 ไม่ใช้ถ่านชีวภาพ ( control )
ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางในการน ามาใช้เพื่อการ วิธีการที่ 2 ใช้ถ่านชีวภาพ 3 กิโลกรัม ผสมลงในแปลงปลูก
พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน มีรายงานประโยชน์ของไบโอชาร์ วิธีการที่ 3 ใช้ถ่านชีวภาพ 6 ก.ก ผสมลงในแปลงปลูก
ในการใช้เป็ นวัสดุปรับปรุงดิน เพื่อเพิ่มผลผลิตทางด้าน วิธีการที่ 4 ใช้ถ่านชีวภาพ 9 ก.ก ผสมลงในแปลงปลูก
เกษตรกรรมเนื่องจากคุณสมบัติของไบโอชาร์ที่มีความ วิธีการที่ 5 ใช้ถ่านชีวภาพ 12 ก.ก ผสมลงในแปลงปลูก
เหมาะสมในการน ามาใช้เป็นวัสดุปรับปรุงดิน ได้แก่ มีพื้นที่ผิว 2.2 ขั้นตอนและวิธีการทดลอง
และความพรุนสูง ท าให้สามารถดูดซับน ้าที่เป็นประโยชน์แก่ 2.2.1 เตรียมวัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ พันธุ์ข้าว ถ่านชีวภาพ ปุ๋ ย
พืช มีค่าการแลกเปลี่ยนประจุบวกที่สูง มีค่าความเป็นกรดด่างที่ คอกและเตรียมแปลงไว้
สูง ท าให้สามารถใช้เป็นวัสดุเพื่อเพิ่มค่าความเป็นกรดด่างของ 2.2.2 เพาะกล้าข้าว โดยการน าเมล็ดข้าวไปแช่น ้า 1 คืนแล้ว
ดินได้ได้ในการน ามาใช้จัดการปัญหาการเปลี่ยนแปลง น ามาอบไว้อีก 1 คืนจากนั้นน าไปหว่านในแปลงที่เตรียมไว้ ท า
ภูมิอากาศโดยการกักเก็บคาร์บอนลงสู่ดิน โดยเฉพาะดินใน การดูแลรักษา ให้มีอายุ 25 วัน
ภาคเกษตรกรรม ปรับปรุงดินเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ 2.2.3 ใส่ปุ๋ ยคอกมูลสุกร หน่วยทดลองละ 5 กิโลกรัม
อย่างไรก็ตามงานวิจัยเกี่ยวกับการเพิ่มผลผลิตข้าวโดยใช้ไบ 2.2.4 การใส่ถ่านชีวภาพ แบ่งครึ่งใส่ 2 ครั้ง คือ ปรุงดินหลัง
โอชาร์ยังมีอยู่ไม่มากและยังไม่ชัดเจน คณะผู้วิจัยได้ใช้พืช คราดเสร็จ ก่อนปักด าและครั้งที่ 2 หว่านลงแปลงหลังปักด า 15
ทดลองคือ ข้าวเหนียวพันธุ์สกลนคร เป็นข้าวเหนียว มีกลิ่น วัน
หอม ไม่ไวต่อช่วงแสง ผสมพันธุ์ระหว่างข้าวพันธุ์หอมอ้นเป็น 2.2.5 เติมน ้าสูงจากพื้นดิน 5 เซนติเมตร ย้ายปลูกโดยใช้
พันธุ์แม่ กับพันธุ์ กข 10 เป็นพันธุ์พ่อ ที่สถานีทดลองข้าว ระยะปักด า 50 x 50 เซนติเมตร 3 ต้นต่อจับ 1 หน่วยทดลอง ปัก
ขอนแก่น ในปี 2525 น ามาปลูกศึกษาที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภู ด าได้ 50 ต้น
พานฯ ตั้งแต่ปี 2534 ในชื่อ“สกลนคร 69 หรือ SKN 69” ต่อมา 2.2.6 ปฏิบัติดูแลรักษาให้น ้าโดยรักษาระดับที่ 5 เซนติเมตร
* ผู้เขียนผู้รับผิดชอบบทความ (Corresponding author) 2
E-mail address: monma@gmail.com 707