Page 740 - Full paper สอฉ.3-62
P. 740

ก าลังเจริญเติบโตที่ต้นเมล่อนต้องการน ้ามากการให้ความ         2)  อิมิดาโคลพริด (imidacloprid) 70% WG ใช้ป้องกัน

               ชุ่มชื้นแก่ดินถ้าดินขาดอากาศเมื่อใดรากเมล่อนจะ     ก าจัดเพลี้ยจักจั่น เพลี้ยไฟและเพลี้ยอ่อน อัตราใช้ 2 กรัม
               หยุดชะงักการเจริญเติบโตเมื่อนั้นซึ่งหมายถึงว่าต้นเมล่อน  ต่อน ้า 20 ลิตร

               จะได้รับน ้าและธาตุอาหารอยู่ในขอบเขตที่จ ากัดซึ่งในการ  9.  การผูกเชือก
               ปลูกเมล่อนในการวิจัยครั้งนี้ท าการให้น ้าโดยใช้ระบบน ้า     การผูกเชือกช่วยท าให้ต้นเมล่อนยืนตรงและไม่

               หยดเปิดน ้าใส่วันละครั้งตอนเช้าประมาณ 5-10 นาที และ  อ่อนแอแตกแขนงเร็ว โดยผูกเชือกเมล่อนหลังปลูก
               งดการให้น ้า 5 วัน ก่อนการเก็บเกี่ยว               ประมาณ 10-15 วัน หรือมีใบจริง 5-6 ใบ วิธีการท าคือเอา

                       8.2  การใส่ปุ ๋ ยหลังปลูก                  เชือกฟางผูกหลวม ๆ (อย่าผูกแน่น) ไปที่โคนของล าต้น

                              การใส่ปุ๋ ยครั้งที่ 1 ใส่แบบโรยรอบต้น ใส่ปุ๋ ย  แล้วพันๆเชือกไปที่ยอด แล้วต้องท าการพันให้ได้ทุกวัน
               สูตร 19-19-19 อัตรา 20 กรัม/ต้น เมื่อ      เมล่อนอายุ 20 วัน  เพราะไม่อย่างนั้นจะท าให้ยอดหัก

               หลังย้ายปลูก                                       10.  การแต่งแขนง
                              การใส่ปุ๋ ยครั้งที่ 2 ก่อนผสมเกสร ใส่ปุ๋ ย สูตร      ต้นกล้าเมล่อนค่อย ๆ เจริญเติบโตประมาณ 10-

               19-19-19 โรยที่ผิวดินต้นละ30 กรัม เมื่อเมล่อนอายุ 40 วัน   15 วันก็จะแตกข้อประมาณ 3-4 ข้อแล้วให้เด็ดทิ้งให้หมด
               หลังย้ายปลูก                                       แล้วก็ท าการเด็ดทิ้งไปเรื่อย ๆ จะเอาไว้ช่วงข้อที่ 8-9 เท่านั้น

                              การใส่ปุ๋ ยครั้งที่ 3 ใส่หลังผสมเกสร ใส่ปุ๋ ย  การแต่งแขนงจ าเป็นต้องท าในช่วงเย็น
               สูตร 13-13-21 ผสมโรยที่ผิวดินต้นละ30 กรัม โดยใส่   11.  การผสมเกสร

               ด้านข้าง ๆ ถุงของต้นเมล่อน เมื่อเมล่อนอายุ 60 วัน หลัง     การช่วยผสมเกสรเป็นกิจกรรมส าคัญอย่างหนึ่ง
               ย้ายปลูก                                           เพราะหากปล่อยให้ดอกผสมเกสรเองตามธรรมชาติ เม

                       8.3  การพ่นสารเคมี                         ล่อนก็มักติดผลน้อย โดยจะเริ่มตั้งแต่ 06.00-10.00 น.

                              ในการปลูกเมล่อนจ าเป็นต้องใช้สารเคมี  เพราะหลังจากสายประมาณ 10.00 น. ไปแล้ว กลีบดอกตัว
               หลากหลายชนิดในการก าจัดแมลงและโรคพืชเพื่อให้       เมียจะหุบแล้วการผสมเกสรท าได้โดยเด็ดดอกตัวผู้ แล้วเด็ด

               ได้ผลผลิตของเมล่อนมากขึ้นตรงตามความต้องการของ      กลีบดอกสีเหลือง ๆ ออก ให้เหลือเพียงเกสรด้านใน ก่อน
               ตลาดและผู้บริโภคแต่การใช้สารเคมีส่งผลกระทบต่อผู้ผลิต  น าดอกตัวผู้ที่มีก้านเกสรจุ่มแตะกับเกสรตรงกลางของดอก

               และผู้บริโภคถ้าใช้สารเคมีโดยไม่ได้พิจารณาถึงอัตราที่  ตัวเมีย ซึ่งให้ใช้ดอกตัวผู้ 1 ดอก ผสมกับดอกตัวเมีย 1-2
               ก าหนดให้ใช้และระยะเวลาที่ใช้สารต่างๆ  อย่างเคร่งครัด  ดอก

               เพื่อความปลอดภัยทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคในการ       12.  การคัดผล

               ทดลองวิจัยครั้งนี้มีการใช้สารเคมีเพื่อป้องกันและก าจัด     เมล่อนบางต้นมีการติดผลมากกว่า 2 ผล หาก
               แมลงศัตรูพืชดังนี้                                 ปล่อยให้ผลในแต่ละต้นมาก จะท าให้ผลมีขนาดเล็ก ดังนั้น

                      1)  เมทาแลกซิล 25% WP (metalaxyl) Acylalanine   หลังติดผลจนได้ขนาดประมาณเท่าลูกปิงปองหรือเท่ากับ
               ป้องกันและก าจัดโรคเน่าด าหรือเน่าเข้าไส้ และราน ้าค้าง   ไข่ไก่ท าการเลือกผลที่มีขั้วผลใหญ่ ลักษณะผลสมบูรณ์ไว้

               ใช้อัตรา 40 กรัม ผสมกับน ้า 20 ลิตร                1 ผล/ต้น ส่วนผลอื่นให้เด็ดทิ้ง





                                                                                                                 722
   735   736   737   738   739   740   741   742   743   744   745