Page 737 - Full paper สอฉ.3-62
P. 737

เป็นพืชที่สามารถเชื่อมกันได้และเป็นพืชที่อยู่ในตระกูล            6.2.2  การเสียบยอดเมล่อนโดยใช้ต้นตอ

               เดียวกัน พืชหลักหลายชนิดระบบรากที่แข็งแรงและ       น ้าเต้า จ านวน 12 ต้น
               สามารถน ามาท าเป็นต้นตอได้ เช่น ต้นฝักทอง ต้นน ้าเต้า             6.2.3  การเสียบยอดเมล่อนโดยใช้ต้นตอฟัก

               และต้นฟัก ซึ่งเป็นพืชตระกูลแตง เป็นตระกูลเดียวกันกับเม  จ านวน 12 ต้น
               ล่อน                                                         6.2.4  การเสียบยอดเมล่อนโดยใช้ต้นตอ

                       ดั้งนั้นผู้วิจัยจึงเลือกวิธีการเสียบยอด(Grafting)   ฟักทองจ านวน 12 ต้น
               มาศึกษาทดลองกับการปลูกเมล่อนโดยใช้ต้นตอได้แก่ ต้น         สถานที่ท าการวิจัย โรงเรือนระบบปิ ด แปลง

               ฟักทอง ต้นน ้าเต้าและฟักเพื่อที่จะศึกษาเปรียบเทียบการ  พืชผักแผนกวิชาพืชศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี

               เจริญเติบโตผลผลิตและคุณภาพของเมล่อนเพื่อเป็นข้อมูล  ร้อยเอ็ด ต าบลนิเวศน์ อ าเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด
               และเป็นแนวทางในการที่จะเพิ่มผลผลิตของเมล่อนต่อไป          6.3  การเก็บรวบรวมข้อมูล

               2.  วัตถุประสงค์การวิจัย                                      6.3.1  เก็บข้อมูลการเจริญเติบโตของเมล่อน
                       เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการใช้ต้นตอที่ต่างกัน  ทุก ๆ 10 วัน จนถึงวันเก็บเกี่ยวผลผลิต

               ต่อการเจริญเติบโต ผลผลิตและคุณภาพของเมล่อน                                 1)  วัดความสูงของต้น (เซนติเมตร)
               3.  สมมติฐานการวิจัย                                             6.3.2  เก็บข้อมูลผลผลิต

                       ต้นตอของพืชที่ต่างชนิดกันในการขยายพันธุ์โดย                   1)  ชั่งน ้าหนักของผลเมล่อน (กรัม)

               วิธีการเสียบยอดมีผลต่อการเจริญเติบโตผลผลิตและ                       2)  วัดขนาดของผลเมล่อน (เซนติเมตร)
               คุณภาพของเมล่อนต่างกัน                                              3)  วัดความหวานของเนื้อเมล่อน (องศาบริกซ์)

               4.  ขอบเขตการวิจัย                                        6.4  การวิเคราะห์ข้อมูล
                       การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาและเปรียบเทียบการ         วิเคราะห์ข้อมูลตามแผนการทดลองแบบ (CRD)

               เจริญเติบโตการให้ผลผลิตและคุณภาพของเมล่อนใช้       วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ Analysis of Variation
               วิธีการเสียบยอด และใช้ต้นตอต่างกัน ได้แก่ น ้าเต้า ฟัก   (ANOVA) และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยแต่

               และ ฟักทองเท่านั้น                                 ละทรีตเมนต์โดยวิธี least significant Difference (LSD)

               5.  ตัวแปรการวิจัย                                 7.  ประโยชน์ที่ได้รับในการท างานวิจัย
                       5.1  ตัวแปรต้น ชนิดของต้นตอที่แตกต่างกัน          7.1  ได้ความรู้ทักษะประสบการณ์เกี่ยวกับการ
                       5.2  ตัวแปรตาม การเจริญเติบโต การให้ผลผลิต  ปลูกเมล่อนโดยใช้วิธีการเสียบยอดกับต้นพืชต่าง ๆ

               และคุณภาพของเมล่อน                                        7.2  สามารถน าความรู้นี้ไปเผยแพร่ให้กับ

               6.  วิธีด าเนินการวิจัย                            เกษตรกรได้
                       6.1  ระเบียบวิธการวิจัย

                              การทดลองที่มีแผนแบบสุ่มสมบูรณ์
               (Completely randomized design ;CRD)

                       6.2  กลุ่มตัวอย่างการทดลอง
                              6.2.1  ไม่ท าการเสียบยอด 12 ต้น




                                                                                                                 719
   732   733   734   735   736   737   738   739   740   741   742