Page 735 - Full paper สอฉ.3-62
P. 735

การศึกษาและเปรียบเทียบการใช้ต้นตอที่ต่างกันในการเสียบยอดที่มีผลต่อ

                                          การเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพของเมล่อน
                            Effect of Different Kinds of Rootstock to Growth Yield and Quality of Melon


                                                  นายสมศักดิ์  อังกุรวัฒนานุกุล



                               วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม  สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


               บทคัดย่อ                                           น ้าหนักและขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของผลน้อยที่สุด เมื่อ
                                                                  วิเคราะห์ความแปรปรวนพบว่าไม่แตกต่างทางสถิติและเม
                       การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและ
                                                                  ล่อนที่ปลูกโดยใช้ฟักเป็นต้นตอ มีความหวานสูงที่สุด
               เปรียบเทียบการใช้ต้นตอที่ต่างกันต่อการเจริญเติบโต

               ผลผลิตและคุณภาพของเมล่อนพันธุ์ พอท ออเร้นจ์ ที 1957   รองลงมาคือการปลูกเมล่อนโดยไม่ท าการเสียบยอดและ
               เมื่อปลูกโดยใช้ต้นตอต่างชนิด วางแผนการทดลองแบบสุ่ม  ปลูกเมล่อน โดยใช้ต้นน ้าเต้าเป็นต้นตอมีความหวาน ส่วน
                                                                  การปลูกเมล่อนโดยใช้ต้นฟักทองเป็นต้นตอ มีความหวาน
               สมบูรณ์ (Completely randomized design ;CRD) มี 4 ทรีท
               เมนต์  4 ซ ้า ประกอบด้วย ปลูกเมล่อนไม่ท าการเสียบยอด   น้อยที่สุด เมื่อวิเคราะห์ความความแปรปรวนพบว่าไม่
                                                                  แตกต่างทางสถิติ
               ปลูกเมล่อนโดยใช้น ้าเต้าเป็นต้นตอปลูกเมล่อนโดยใช้ฟัก
               เป็นต้นตอ และปลูกเมล่อนโดยใช้ฟักทองเป็นต้นตอผล     ค าส าคัญ : เมล่อนพันธุ์พอท ออเร้นจ์ ที1957 , ยอดตอ , ต้น

               การทดลองพบว่า การเจริญเติบโตด้านความสูงของล าต้น   ตอ , การเจริญเติบโต
               เมล่อนที่ปลูกโดยไม่ท าการเสียบยอด มีความสูง ของล าต้น

               สูงสุด เฉลี่ย 154.83 เซนติเมตร รองลงมาเมล่อนที่ท าการ
               เสียบยอดโดยใช้ต้นตอน ้าเต้าและใช้ต้นฟักทอง  เป็นต้นตอ

               ค่าเฉลี่ยคือ 97.42 และ 90.5 เซนติเมตร ตามล าดับ ส่วนการ

               ปลูกเมล่อนโดยใช้ต้นฟัก เป็นต้นตอ มีความสูงของล าต้น
               น้อยที่สุด เฉลี่ยที่ 75.17 เซนติเมตร เมื่อวิเคราะห์ความ

               แปรปรวนพบว่า มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยส าคัญ
               (P <0.01)


                       ส่วนน ้าหนักผลและขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเม

               ล่อนพบว่าการใช้น ้าเต้าเป็นต้นตอ มีน ้าหนักและ

               เส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยสูงที่สุดรองลงมาคือการปลูกเมล่อน
               โดยไม่ท าการเสียบยอด และปลูกเมล่อนโดยใช้ต้นฟักเป็น

               ต้นตอ ส่วนการปลูกเมล่อนโดยใช้ต้นฟักทองเป็นต้นตอมี





                                                                                                                 717
   730   731   732   733   734   735   736   737   738   739   740