Page 828 - Full paper สอฉ.3-62
P. 828
เรียนรู้และการจัดทำศูนย์ข้อมูลเพื่อพัฒนาสถานศึกษาเป็นสังคม หนังสือ คู่มือ เอกสาร และรายงานต่างๆ ซึ่งทำให้คนสามารถ
แห่งการเรียนรู้ เข้าถึงได้ง่าย
2.2 วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟต์แวร์ 2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ระบบสารสนเทศทั้งหลายมีวงจรชีวิตที่เหมือนกันตั้งแต่เกิด จากการศึกษาค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มีวัตถุประสงค์
จนตายวงจรนี้จะเป็น ขั้นตอนที่เป็นลำดับตั้งแต่ต้นจนเสร็จ เพื่อต้องการหาข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกับบริบทงานวิจัยเรื่อง
เรียบร้อย เป็นระบบที่ใช้งานได้ ซึ่งนักวิเคราะห์ระบบต้องทำ “KVC Smart App” ซึ่งข้อมูลที่ได้จากศึกษางานวิจัยนั้น มี
ความเข้าใจให้ดีว่าในแต่ละขั้นตอนจะต้องทำอะไร และทำ รายละเอียดดังนี้
อย่างไร ขั้นตอนการพัฒนาระบบมีอยู่ด้วยกัน 6 ขั้น (ศิรชญาน์ 2.4.1 การจัดการความรู้และเครื่องมือที่ใช้ในการ
การเวก และ วีระศักดิ์ จงเลขา. 2552) ด้วยกัน คือ จัดการความรู้
2.2.1 เข้าใจปัญหา
2.2.2 วิเคราะห์ 2.4.1.1 การจัดการความรู้ สำหรับการจัดการ
2.2.3 ออกแบบ องค์ความรู้อย่างมีประสิทธิภาพนั้นจำเป็นต้องอาศัย การจัดการ
2.2.4 สร้างหรือพัฒนาระบบ องค์ความรู้อย่างเป็นระบบ เพื่อช่วยสนับสนุนให้องค์กรสามารถ
2.2.5 การติดตั้งหรือการปรับเปลี่ยน ใช้องค์ความรู้ที่มีได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น โดย Robert J.
Howlett (2010) ได้กล่าวถึงการถ่ายทอดความรู้ระหว่างภาค
2.2.6 บำรุงรักษา
2.3 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การศึกษาสู่องค์กรหรือบริษัทอย่างเป็นมืออาชีพโดยใช้ความร่วม
จากการศึกษาค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้องสำหรับ มือกันในการถ่ายถอดความรู้ของคน ในและนอกองค์กรที่ทำงาน
งานวิจัยเรื่อง “KVC Smart App” เพื่อให้เข้าใจถึงทฤษฎีความรู้ ร่วม ทำให้เกิดการบูรณาการณ์ร่วมกันของภาคส่วนต่างๆ ซึ่งใช้
(Knowledge) และความเป็นมา ของการจัดการองค์ความรู้ การ ถ่ายทอดความรู้เป็นจุดเริ่มต้นและก่อให้เกิดผลประโยชน์
(Knowledge Management) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ร่วมกัน จากการเนินการนี้เป็นผลดีกับทั้ง 3 ภาคส่วน โดยฝ่าย
2.3.1 แนวคิดและทฤษฏีความรู้ (Knowledge) จาก ภาคการศึกษาจะได้ความรู้ประสบการณ์เพิ่มเติม ฝ่ายนักศึกษาที่
การศึกษาพบว่าทฤษฎีความรู้และการจัดการความรู้ เรียนจบที่
เป็นประเด็นร้อนแรงที่ถูกพูด ถึงทั้งในโลกของ
อุตสาหกรรม และในโลกของสารสนเทศในการทำงานวิจัย ใน อยู่ องค์กร
ชีวิตประจำวันของเราต้อง ผ่านกับข้อมูลและสารสนเทศเป็น ก ็ จ ะ ไ ด้
จำนวนมาก ข้อมูลและสารสนเทศนั้นยังไม่ใช่ความรู้จนกว่าเรา ค่าจ้างและ
จะรู้ วิธีการขุดค่าออกจากมัน นี่คือเหตุผลที่เราต้องการจัดการ งา น จ า ก
ความรู้ จากการศึกษายังไม่พบว่ามีความหมาย สากลของการ ส่วนภาค
จัดการความรู้ ไม่มีข้อตกลงไหนบันทึกถึงทฤษฎีความรู้เกิดขึ้นที่ ธุรกิจ และ
ไหนตั้งแต่แรก ผู้วิจัยได้เลือก ความความหมายต่อไปนี้สำหรับ
การจัดการความรู้เพื่อความเรียบง่ายและบริบทในวงกว้าง ส่วนที่เป็นภาคธุรกิจก็จะมีแหล่งความรู้และแหล่ง ทรัพยากร
2.3.1.1 ประวัติของการจัดการความรู้ (โดยสังเขป) ยุค บุคคลให้กับองค์กรต่อไป นอกจากนี้ WILLIAM SPANGLER,
1970s ROBERT SROUFE, MATTHEW MADIA and JYOTHSNA
2.3.1.2 ประเภทของการจัดการความรู้ ความรู้ SINGADIVAKKAM (2014) ยังได้กล่าวเสริมถึงการจัดการ ความรู้
สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ ความรู้ฝังลึก (Tacit โดย มุ่งที่ความยั่งยืนขององค์กรระดับโลก เพื่อนำเอา การ
Knowledge) และความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) โดยมี
นักวิชาการยอมรับกันอย่างแพร่หลาย และนำแนวคิดนี้ไปใช้ จัดการความรู้เข้ามาพัฒนาใช้กับระบบการจัดการ โดยได้เป็น
Nonaka and Takeuchi, (1995) ได้กล่าวถึง ความรู้ฝังลึก กรอบแนวคิดใหม่ ภายใต้ชื่อ K/EMS Knowledge/
(Tacit Knowledge) ว่าเป็นความรู้ที่อยู่ในตัวของแต่ละบุคคล Environmental Management Systems) ซึ่งเป็นการปรับตัว
เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ หรือพรสวรรค์ ต่างๆ ซึ่งสื่อสาร และช่วยในการจัดการความซับซ้อนของระบบการ จัดการความรู้
หรือถ่ายทอดในรูปของตัวเลข สูตร หรือลายลักษณ์อักษรได้ยาก ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ความรู้ชนิดนี้พัฒนา และแบ่งปันกันได้ และเป็นความรู้ที่ 2.4.1.2 การจัดการความรู้โดยใช้เทคโนโลยี
ก่อให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน และได้กล่าวถึงความรู้ชัด Nowshade Kabir and Grenoble Graduate (2015) ได้ศึกษา
แจ้ง (Explicit Knowledge) ว่าเป็นความรู้ที่เป็นเหตุเป็นผล ความหมายของกรอบของระบบสารสนเทศการจัดการความรู้
สามารถรวบรวมและถ่ายทอดออกมาในรูปแบบ ต่างๆ ได้ เช่น
3
810