Page 43 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 43

๓๖




              อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก อนุสัญญา
              วาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ อนุสัญญาตอตานการทรมานและการปฏิบัติ

              หรือการลงโทษที่โหดรายไรมนุษยธรรมหรือยํ่ายีศักดิ์ศรี และอนุสัญญาวาดวยสิทธิคนพิการ อนุสัญญา
              วาดวยการคุมครองสิทธิของแรงงานอพยพและสมาชิกครอบครัว และอนุสัญญาวาดวยการคุมครอง

              มิใหบุคคลถูกบังคับใหสูญหาย ซึ่งจะไดกลาวโดยลําดับดังตอไปนี้



              »¯ÔÞÞÒÊÒ¡ÅÇ‹Ò´ŒÇÂÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹

              ·ÕèÁÒáÅÐà¨μ¹ÒÃÁ³áË‹§»¯ÔÞÞÒÊÒ¡ÅÇ‹Ò´ŒÇÂÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹

                         นับแตสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง หลายประเทศทั่วโลกเห็นพองตองกันที่จะหาวิธี
              ปองกันมิใหเกิดความสูญเสียตอมวลมนุษยชาติเชนนั้นขึ้นอีก การกระทําอันเปนการพรากเอาชีวิต
              ผูคนไปดวยวิธีการที่โหดรายทารุณตางๆ นานาตองหมดสิ้นไป ดวยเหตุผลนี้องคการสหประชาชาติ

                              ๑
              (United Nations)  จึงถูกกอตั้งขึ้นดวยเจตนารมณสูงสุดคือรักษาสันติภาพของโลก ภายหลังจัดตั้งไมนาน
              สมาชิกก็รวมกันประกาศใช “ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน” (The Universal Declaration
              of Human Rights) อันเปนเอกสารสําคัญที่เปนแมบทเรื่องสิทธิมนุษยชนใหแกประเทศตางๆ
              ที่จะประกันศักดิ์ศรีความเปนมนุษยและรับรองสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน เปนเสมือนหลักการใหม

              ของระเบียบโลกหลังสงคราม
                         ภายหลังกอตั้งองคการสหประชาชาติในป ๑๙๔๕ มีความพยายามที่จะคุมครองสิทธิ

              เสรีภาพ และศักดิ์ศรีของมนุษยใหเปนรูปธรรมยิ่งขึ้น ผานกลไกการทํางานของสหประชาชาติ จวบจนวันที่
                                      ๒
              ๑๐ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๔๘  สมัชชาใหญสหประชาชาติ (UN General Assembly) ไดมีมติรับรอง
              “ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน” ซึ่งกําหนดหลักการพื้นฐานในเรื่องสิทธิเสรีภาพของประชาชน
              เอาไว ถือเปนเอกสารชิ้นสําคัญดานสิทธิมนุษยชนของโลก และเปนตนแบบใหกับกฎหมายระหวาง

              ประเทศที่มีเจตนารมณเพื่อคุมครองสิทธิเสรีภาพในดานตางๆ เพื่อสรางสันติภาพใหเกิดขึ้น มิใหเกิด
              ประวัติศาสตรซํ้ารอยของการเขนฆาชีวิตผูคนอยางเหตุการณสงครามโลกครั้งที่สองเกิดขึ้นมาไดอีก











              ๑   เมื่อแรกกอตั้ง องคการสหประชาชาติมีสมาชิกทั้งสิ้น ๕๑ ประเทศ ปจจุบันมี ๑๙๓ ประเทศ โดยซูดานใตเปนประเทศสมาชิกลาสุด
                ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ “Un Welcomes 193rd Member State,” United Nations Regional Information Centre for Western
               Europe, สืบคนเมื่อ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๙, จาก http://www.unric.org/en/latest-un-buzz/26841-un-welcomes-193rd
               -member-state
              ๒   วันที่ ๑๐ ธันวาคมของทุกปจึงถือเปน “วันสิทธิมนุษยชนสากล” นับตั้งแตป ๑๙๕๐ เปนตนมา ดู “Human Rights Day,” United Nations,
                สืบคนเมื่อ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๙, จาก http://www.un.org/en/events/humanrightsday/
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48