Page 44 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 44
๓๗
¢ŒÍ¤ÇÃÃÙŒ :
คณะกรรมการทํางานยกรางปฏิญญาฉบับนี้ มีสมาชิกที่มีความรูจากหลากหลายดาน ทั้งการเมือง
วัฒนธรรม ศาสนา จาก ๙ ประเทศ มี เอลานอร รูสเวลต (Eleanor Roosevelt, ๑๘๘๔-๑๙๖๒)
ภรรยาของประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี. รูสเวลต (Fraklin D. Roosevelf, ๑๘๘๒-๑๙๔๕) เปนประธาน
คณะกรรมการฯ รางปฏิญญาถูกสงใหสมาชิกสหประชาชาติใหคําวิจารณ และมีผลสมบูรณในคราว
การประชุมสมัชชาใหญแหงสหประชาชาติ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๔๘ ดวยมติ
เห็นชอบ ๔๘ ตอ ๐ เสียง โดยมี ๘ ประเทศสมาชิกงดออกเสียง ไดแก สหภาพโซเวียต, เบียโลรัสเซีย,
ยูเครน, โปแลนด, เชโกสโลวาเกีย, ยูโกสลาเวีย, ซาอุดีอาระเบีย และแอฟริกาใต
¢ŒÍ¤ÇÃÃÙŒ :
ในป ๒๐๐๙ ปฏิญญาฉบับนี้ไดรับการบันทึกเปนสถิติโลกในฐานะเอกสารที่ถูกแปลเปนภาษาตางๆ
มากที่สุด ถึงกวา ๓๐๐ ภาษา โดยไดรับการรับรองจากกินเนสเวิลดเรคคอรด (Guinness World Record)
อยางไรก็ตาม ถึงแมปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนจะถือเปนรากฐานของกฎหมาย
ระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน เปนตนแบบในการทําขอตกลงระหวางรัฐ เปนแนวปฏิบัติใหแก
กฎหมายภายในประเทศ ตลอดจนเปนพลังในการสรางหลักการรวมเพื่อคุมครองสิทธิ แตในทาง
ปฏิบัติแลวยังไมมีสภาพบังคับทางกฎหมาย ไมมีผลผูกพันทางกฎหมาย หรือมีบทลงโทษใดๆ
แตเนื้อหาและเจตนารมณที่สะทอนจากขอความเพียง ๓๐ ขอนั้นก็มุงหวังใหสังคมเกิดสันติสุข สะทอน