Page 50 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 50

๔๓




                            นัยสําคัญที่ปรากฏในเอกสารชิ้นสําคัญนี้เชื่อวา การเคารพซึ่งสิทธิ ความเสมอภาค
                 และศักดิ์ศรีของมนุษยจะกอกําเนิดอิสรภาพ ความยุติธรรม ที่สําคัญที่สุด คือ “สันติภาพ” ใหเกิดขึ้นได
                 ดังขอความที่ระบุในÍÒÃÑÁÀº·ที่วา

                            “โดยที่การยอมรับศักดิ์ศรีแตกําเนิด และสิทธิที่เทาเทียมกันและที่ไมอาจเพิกถอนไดของ
                 สมาชิกทั้งมวลแหงครอบครัวมนุษยชาติ เปนพื้นฐานแหงอิสรภาพ ความยุติธรรม และสันติภาพในโลก”
                 [Whereas recognition fo the inherent dignity and of the equal and inalienable rights of
                 all members of the human family is the foundation of freedom, justice and peace in

                 the world.]
                            เมื่อพิจารณาในสวนของรายละเอียดเนื้อหาของปฏิญญาฯ ก็สะทอนชัดเจนถึง
                            (๑)   ÍÔ·¸Ô¾Å¢Í§á¹Ç¤Ô´ÊÔ·¸Ô¸ÃÃÁªÒμÔ (Natural rights) ที่พัฒนาการมาตั้งแตอดีต

                 กลับมาปรากฏชัดเจนอีกครั้งตั้งแตเนื้อหาขอแรกของปฏิญญาฯ ที่วา
                                 “มนุษยทุกคนเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกัน สิทธิและศักดิ์ศรี” [All human beings
                 are born free and equal in dignity and rights......]
                                 แนวคิดสิทธิธรรมชาติที่ใหความสําคัญกับคุณคาในชีวิตมนุษยยังถูกเขียนขึ้นชัดเจน
                 ในเนื้อหาขอสาม

                                 “ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิต เสรีภาพ และความมั่นคงแหงบุคคล”  [Everyone has
                 the right  to life, liberty and security of person.]
                                 กลาวไดวาเนื้อหาในปฏิญญาฯ ลวนมีรากฐานมาจากแนวคิดสิทธิธรรมชาติที่ให

                 ความสําคัญกับคุณคาในชีวิตของมนุษย
                            (๒)   ÊзŒÍ¹ËÅÑ¡¡ÒÃÊíÒ¤ÑޢͧÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹ คือ หลักความเปนสากล  (Universality),
                 หลักการแบงแยกไมได (Inalienable), หลักศักดิ์ศรีความเปนมนุษย (Human Dignity) เนื่องจาก
                 เจตนารมณแหงปฏิญญาฯ นั้นใชคุมครองกับ “มนุษยทุกคน” เชนดังขอความที่เนนยํ้าในเนื้อหา

                 ขอที่สองของปฏิญญาฯ วา
                                 “ทุกคนยอมมีสิทธิและอิสรภาพทั้งปวงตามที่กําหนดไวในปฏิญญานี้ โดยปราศจาก
                 การแบงแยกไมวาชนิดใด อาทิ เชื้อชาติ ผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง

                 หรือทางอื่น พื้นเพทางชาติหรือสังคม ทรัพยสิน การเกิด หรือสถานะอื่น นอกเหนือจากนี้ จะไมมีการ
                 แบงแยกใดบนพื้นฐานของสถานะทางการเมือง ทางกฎหมาย หรือทางการระหวางประเทศของประเทศ
                 หรือดินแดนที่บุคคลสังกัด”
                                [Everyone is entitled to all the rights and freedoms set forth in

                 this Declaration, without distinction of any kind, such as race, colour, sex, language,
                 religion, political or other opinion, national or social origin, property, birth or other
                 status. Furthermorc, no distinction shall be made on the basis of the political, jurisdictional
                 or international status of the country or territory to which a person belongs...]

                                 หากแบงรายละเอียดเนื้อหาของปฏิญญาออกมาเปนสวนๆ (เนื้อหาขอ ๑-ขอ ๓๐)
                 สามารถแบงหมวดหมูตามลําดับเนื้อหาออกไดเปน สี่สวน ไดแก
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55