Page 53 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 53
๔๖
ÀÒ¤ÊÒÁ (¢ŒÍ ñ÷-òõ)
เกี่ยวกับการลงนามเขาเปนภาคี, การมีผลใชบังคับ, เงื่อนไขในการขอตั้ง ขอสงวน และการ
ถอนขอสงวน, การเพิกถอนอนุสัญญา, การเสนอขอพิพาทสูศาลยุติธรรมระหวางประเทศ และการแกไข
และเก็บรักษาตนฉบับทั้ง ๕ ภาษา (จีน อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย และสเปน)
¡Ô¨¡ÃÃÁ
๑. จากผลการสํารวจของเมื่อป ค.ศ.๒๐๑๕ พบวาสหรัฐอเมริกามีปญหาการเลือกปฏิบัติ
ทางเชื้อชาติ โดยผลการศึกษามีดังนี้
¢ŒÍ¤ÇÃÃÙŒ :
z การเลือกปฏิบัตินั้นไมไดหมายถึงเฉพาะแตการจงใจเลือกปฏิบัติ (Intentional
discrimination) หากหมายรวมถึงการเลือกปฏิบัติในทางออมตางๆ ดวย เชน กฎหมายที่ “เนื้อหา”
มีความเปนกลาง แต “ผลลัพธ” เปนไปทางตรงกันขาม
z การเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติไมสามารถทําไดทั้งในระดับบุคคล, กลุมบุคคล หรือสถาบัน
z เปนเพียงหนึ่งในสามของสนธิสัญญาระหวางประเทศที่อนุญาตให “บุคคล” สามารถ
รองเรียนการถูกละเมิดสิทธิไปยังคณะกรรมการไดโดยตรง (Individual complain) ๔
z การรองเรียนตองเปนการใชมาตรการจัดการแกไขในระดับทองถิ่นจนหมดสิ้นแลว
แตไมบังเกิดผลจึงสงเรื่องมายังคณะกรรมการฯ
z อนุสัญญานี้ จะไมใชกับการจําแนก การกีดกัน การจํากัด หรือการเลือก โดยรัฐภาคีของ
อนุสัญญานี้ ระหวางพลเมืองและบุคคลที่มิใชพลเมือง
๔ อนุสัญญาอีกสองฉบับ คือ The Optional Protocol to the International Covenant on Civil and Political Rights, and the
Convention against Torture and Other Cruel or Inhuman Treatment or Punishment อานเพิ่มเติมใน “Human Rights
A Basic Handbook for UN Staff,” Office of the High Commissioner for Human Rights, สืบคนเมื่อ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๙,
จาก http://www.ohchr.org/Documents/Publications/HRhandbooken.pdf.